ตรวจ DNA ดีจริงมั้ย? ทำไมใครๆก็พูดถึง

ตรวจวิเคราะห์สุขภาพด้วย DNA ดีจริงมั้ย? ทำไมใครๆก็พูดถึง


ดีเอ็นเอ (Deoxyribonucleic Acid: DNA) เป็นสารพันธุกรรมอยู่ในส่วนองค์ประกอบย่อยของเซลล์เนื้อเยื่อต่างๆ ของร่างกาย เช่น เม็ดเลือดขาว ตัวอสุจิ กระดูก กล้ามเนื้อ หรือเยื่อบุกระพุ้งแก้ม

ในทางนิติเวชใช้การตรวจ DNA เพื่อพิสูจน์เอกลักษณ์บุคคล (Identification) ตรวจพิสูจน์ความสัมพันธ์ทางสายโลหิต หรือตรวจพิสูจน์ความเกี่ยวข้องเชื่อมโยงกันระหว่างวัตถุพยานต่างๆ

ส่วนในทางการแพทย์ นำการตรวจ DNA มาประยุกต์ใช้ในการดูแลสุขภาพ โดยการตรวจ DNA ในยีน สามารถนำไปประเมินความต้องการสารอาหาร ความไวต่ออาหาร และการออกกำลังกาย ทำให้แพทย์สามารถกำหนดโภชนาการและแนวทางการออกกำลังกายที่เหมาะสมในแต่ละบุคคลได้

นอกจากนี้ การตรวจ DNA ยังสามารถหาภาวะความเสี่ยง หรือปัจจัยการเกิดโรคในระดับพันธุกรรมได้อีกด้วย



ตัวอย่างการตรวจวิเคราะห์สุขภาพด้วย DNA โดยโปรแกรม Geneus™ DNA Test

  • ตรวจความต้องการวิตามินและสารอาหาร เช่น เอ บี6 บี9 บี12 ซี ดี หรือโอเมก้า3
  • ตรวจการแพ้อาหาร ได้แก่ แลคโตสในนมวัว คาเฟอีน แอลกอฮอล์ ไขมันอิ่มตัว และกลูเตน
  • ตรวจพฤติกรรมเสี่ยงในการเลือกบริโภค ได้แก่ พฤติกรรมชอบรับประทานหวาน และการอิ่มช้า
  • ตรวจสารต้านอนุมูลอิสระ และการล้างสารพิษในตับ
  • ตรวจความสามารถในการเผาผลาญสารอาหาร ได้แก่ โปรตีน คาร์โบไฮเดรต และไขมัน
  • ตรวจการออกกำลังกายที่เหมาะสมในแต่ละคน
  • ตรวจความเสี่ยงในการเกิดโรคต่างๆ เช่น อัลไซเมอร์ พาร์กินสัน จอประสาทตาเสื่อม ภาวะลิ่มเลือดอุดตัน หรือความดันโลหิตสูง
  • ตรวจพาหะโรคทางพันธุกรรม
  • ตรวจลักษณะผิวพรรณจาก DNA เช่น ความไวต่อแดด ความเสี่ยงในการเกิดสิว จุดด่างดำ หรือแผลเป็นคีลอยด์
  • ตรวจพรสวรรค์ทาง DNA เช่น ความเฉลียวฉลาด ความสามารถทางด้านภาษา ความคิดสร้างสรรค์ หรือการมีสมาธิจดจ่อ
  • ตรวจอื่นๆ เช่น ภาวะเกลียดเสียง ภาวะผมบางจากพันธุกรรม ความรู้สึกเกลียดผักชี อาการเมารถ-เมาเรือ หรือระยะเวลาในการนอนหลับ

ตรวจวิเคราะห์สุขภาพด้วย DNA บอกอะไรเราได้บ้าง


วิตามินและสารอาหาร

  1. ความต้องการ วิตามินเอ (Vitamin A): ตรวจยีน BCMO1
  2. ความต้องการ วิตามินบี6 (Vitamin B6): ตรวจยีน NBPF3
  3. ความต้องการ วิตามินบี9-โฟเลต (Vitamin B9-Folate): ตรวจยีน MTHFR
  4. ความต้องการ วิตามินบี12 (Vitamin B12): ตรวจยีน FUT2
  5. ความต้องการ วิตามินซี (Vitamin C): ตรวจยีน SLC23A1
  6. ความต้องการ วิตามินดี (Vitamin D): ตรวจยีน GC
  7. ความต้องการ โอเมก้า-3 (Omega-3): ตรวจยีน FADS1

ความไวต่ออาหารแต่ละชนิด

  1. ความไวต่อ แลคโตสในนมวัว (Lactose Intolerance): ตรวจยีน MCM6
  2. การกำจัด คาเฟอีน (Caffeine metabolism): ตรวจยีน CYP1A2
  3. การกำจัด แอลกอฮอล์ (Alcohol flush reaction): ตรวจยีน ALDH2
  4. การตอบสนองต่อไขมันอิ่มตัว (Response to dietary saturated fat): ตรวจยีน APOA2
  5. โรคเซลิแอค-แพ้กลูเตน (Celiac disease): ตรวจยีน HLA-DQA1, HLA-DQA2

พฤติกรรมเสี่ยงในการเลือกบริโภค

  1. พฤติกรรมชอบรับประทานหวาน (Sweet tooth): ตรวจยีน SLC2A2
  2. อิ่มช้า (Satiety-feeling full): ตรวจยีน FTO

สารต้านอนุมูลอิสระ

  1. การต้านอนุมูลอิสระภายในเซลล์: ยีน SOD2 (Manganese Superoxide Dismutase 2)
  2. การล้างสารพิษตับ: ยีน GSTP1 (Glutathione Sulfotransferase P1)

ความสามารถในการเผาผลาญอาหาร Macro Nutrient

  1. โปรตีน (Protein)
  2. คาร์โบไฮเดรต (Carb)
  3. ไขมัน (Fat)

การออกกำลังกายที่เหมาะกับตัวคุณ

  1. ประสิทธิภาพ VO2 Max
  2. ศักยภาพด้าน Power/Endurance
  3. ความเสี่ยงบาดเจ็บจากการออกกำลังกาย (Injury risk)
  4. อนุมูลอิสระที่เกิดจากการออกกำลังกาย (Free radicals during exercise)
  5. การฟื้นตัวหลังจากการออกกำลังกาย (Post-exercise recovery)

การออกกำลังกายและสุขภาพองค์รวม

  1. การลดไขมันจากการออกกำลังกายแบบ Cardio
  2. การเพิ่มการตอบสนองต่ออินซูลิน (Insulin)
  3. การควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดโดยการออกกำลังกาย
  4. การเพิ่ม HDL จากการออกกำลังกายแบบ Cardio

ความเสี่ยงในการเกิดโรค

  1. โรคอัลไซเมอร์
  2. โรคพาร์กินสัน
  3. โรคจอประสาทตาเสื่อม
  4. ภาวะธาตุเหล็กเกิน
  5. ภาวะลิ่มเลือดอุดตัน
  6. ภาวะพร่องเอนไซม์ G6PD
  7. โรคเบาหวานชนิดที่ 2
  8. โรคความดันโลหิตสูง
  9. โรคไขมันชนิด LDL สูงเกิน
  10. โรคไขมัน Triglyceride สูงเกิน
  11. โรคไขมัน HDL ต่ำเกิน

บุคลลิกภาพจาก DNA

  1. นักคิด (Analyst)
  2. นักปรับตัว (Adaptable)
  3. นักรบ (Adventurer)

การตอบสนองของร่างกายต่อยา

  1. Allopurinol
  2. Simvastatin
  3. Ibuprofen
  4. Celecoxib
  5. Flurbiprofen
  6. Lornoxicam
  7. Omeprazole
  8. Lansoprazole
  9. Pantoprazole
  10. Meloxicam
  11. Clopidogrel
  12. Citalopram
  13. Escitalopram
  14. Piroxicam
  15. Dexlansoprazole

ความไวต่อมลภาวะ

  1. มลพิษทางอากาศ (air pollution)
  2. มลพิษที่เกิดจากการจราจร (traffic related pollution)
  3. ควันบุหรี่มือสอง (second hand smoke sensitivity)

คุณลักษณะเฉพาะบุคคล

  1. การจัดการความเครียด
  2. หูกาง
  3. ความไวต่อความรู้สึกเจ็บ
  4. ชนิดของขี้หู
  5. การหลับลึก
  6. การเคลื่อนไหวขณะหลับ
  7. กลิ่นตัว
  8. ความไวต่อรสขม

โรคทางพันธุกรรมสำหรับตรวจการเป็นพาหะ และวางแผนการมีบุตรรวม 101 โรค

  1. Achondrogenesis
  2. Achromatopsia
  3. Acute fatty liver
  4. Alkaptonuria
  5. Alpha-Mannosidosis
  6. ARSACS
  7. Agenesis of the Corpus Callosum with Peripheral Neuropathy
  8. Autosomal Recessive Polycystic Kidney Disease
  9. Andermann syndrome
  10. Beta Thalassemia & related hemoglobinopathies
  11. Bloom syndrome
  12. Biotinidase deficiency
  13. Bardet-Biedl Syndrome
  14. Galactosylceramide beta-galactosidase deficiency
  15. Beta-sacroglycanopathy(Limb-girdle muscular dystrophy)
  16. Caravan Disease
  17. Carnitine Palmitoyltransferase deficiency
  18. Choroideremia
  19. Citrullinemia type I
  20. Citrullinemia type II
  21. Cohen syndrome
  22. Combined Pituitary Hormone Deficiency
  23. Congenital Adrenal Hyperplasia
  24. Congenital Disorder of Glycosylation
  25. Cystic fibrosis
  26. D-Bifunctional Protein Deficiency
  27. Deafness
  28. Diastrophic Dysplasia
  29. Dihydrolipoamide Dehydrogenase deficiency
  30. Dilated Cardiomyopathy
  31. Duchenne Muscular Distrophy
  32. Factor XI Deficiency
  33. Familial Dysautonomia
  34. Familial Mediterranean fever
  35. Fanconi Anemia
  36. Familial Hyperinsulinism
  37. Gaucher Disease
  38. G6PD
  39. Glutaric acidemia
  40. GRACILE syndrome
  41. Glycogen storage disease type 1a
  42. Glycogen storage disease type 1b
  43. Glycogen storage disease type V
  44. Hemophilia B
  45. Hereditary Fructose Intolerance
  46. Herlitz Junctional Epidermolysis Bullosa
  47. Hexosaminidase A Deficiency(Including Tay-Sachs Disease)
  48. Homocystinuria
  49. Homocysteinemia
  50. Hyperinsulinism
  51. Inclusion Body Myopathy
  52. Isovaleric Acidemia
  53. Joubert Syndrome
  54. Krabbe Disease
  55. Leigh Syndrome, French Canadian Type
  56. Limb-Girdle Muscular Dystrophy Type 2D
  57. Limb-Girdle Muscular Dystrophy Type 2E
  58. Limb-Girdle Muscular Dystrophy Type 2I
  59. Medium Chain Acyl-CoA Dehydrogenase Deficiency (MCAD)
  60. Maple Syrup Urine Disease Type 1B
  61. Maple Syrup Urine Disease Type 1A
  62. Maple Syrup Urine Disease Type III
  63. Mucolipidosis
  64. Metachromatic Leukodystrophy
  65. Methylmalonic Acidemia
  66. Mucopolysaccharidosis
  67. Muscular dystrophy-dystroglycanopathy
  68. Nemaline Myopathy
  69. Neuronal Ceroid Lipofuscinosis
  70. Niemann-Pick Disease
  71. Northern Epilepsy
  72. Oculocutaneous Albinism
  73. Pendred Syndrome
  74. Polyglandular Autoimmune Syndrome
  75. Pompe Disease
  76. Primary Carnitine Deficiency
  77. Pseudocholinesterase Deficiency
  78. Primary Hyperoxaluria type II
  79. Primary Hyperoxaluria type III
  80. Pycnodysostosis
  81. Rhizomelic Chondrodysplasia Punctata Type 1
  82. Salla Disease
  83. Sickle Cell Anemia
  84. Sjogren-Larsson Syndrome
  85. Tyrosinemia Type I
  86. Usher Syndrome type 1F
  87. Usher Syndrome type 3A
  88. Zellweger Syndrome Spectrum

พรสวรรค์จาก DNA

  1. ความเฉลียวฉลาด (Intelligence)
  2. ความสามารถทางด้านภาษา (Language ability)
  3. ทักษะทางคณิตศาสตร์ (Mathematical skills)
  4. ประสิทธิภาพความจำ (Memory performance)
  5. ทักษะการทำงานหลายอย่าง (Multitasking skills)
  6. ความสามารถทางด้านดนตรี (Musical ability)
  7. ความสามารถในการอ่านและสะกดคำ (Reading and spelling)
  8. การมีสมาธิจดจ่อ (Task attention)
  9. ความจำเพื่อใช้งาน (Working memory)
  10. ความคิดสร้างสรรค์ (Creativity)
    การดูแลผิวพรรณจาก DNA
  11. จุดด่างดำบนผิวหน้า (Age spots)
  12. กระบนใบหน้า (Freckles)
  13. กระบวนการไกลเคชันในผิวหนัง (Glycation protection)
  14. ความเสี่ยงการเกิดสิว (Acne risk)
  15. รอยแตกลายบนผิวหนัง (Stretch marks)
  16. ความไวต่อแสงแดด (Sun sensitivity)
  17. รอยย่นบนใบหน้า (Wrinkles)
  18. การป้องกันเซลลูไลต์ (Cellulite protection)
  19. การเกิดแผลเป็นคีลอยด์ (Keloid formation)

Traits และอื่นๆ

  1. พฤติกรรมเสพติด (Addictive behavior)
  2. พฤติกรรมการดื่มแอลกอฮอล์ (Alcohol drinking)
  3. ภาวะผมบางจากพันธุกรรม (Androgenetic alopecia)
  4. การได้กลิ่นหน่อไม้ฝรั่ง (Asparagus odor detection)
  5. ปริมาณคาเฟอีนที่บริโภค (Caffeine consumption)
  6. ความเกลียดผักชี (Cilantro aversion)
  7. ความหนาของเส้นผม (Hair thickness)
  8. ภาวะเกลียดเสียง (Misophonia)
  9. คนตื่นเช้า (Morning person)
  10. แรงจูงใจจากภายในที่จะออกกำลังกาย (Intrinsic motivation to exercise)
  11. อาการเมารถ เมาเรือ (Motion sickness)
  12. ระยะเวลาในการนอนหลับ (Sleep duration)
  13. ความรู้สึกเชิงบวก (Positive affect)
  14. ความสามารถในการได้ยิน (Hearing ability)