กระดูกพรุนกับผู้หญิงวัยทอง

กระดูกพรุนกับผู้หญิงวัยทอง

โรคกระดูกพรุน เป็นโรคที่เกิดจากความหนาแน่นของเนื้อกระดูกลดลง และมีการเสื่อมสลายของโครงสร้างภายในกระดูก ทำให้กระดูกมีความเปราะบาง ส่งผลให้กระดูกมีความแข็งแรงน้อยลง จึงเสี่ยงกับการเกิดกระดูกหัก บาดเจ็บได้ง่าย สำหรับความแข็งแรงของกระดูกเกิดจากปัจจัยความหนาแน่นของกระดูก และคุณภาพของกระดูก เมื่อสูงอายุขึ้น กระดูกก็จะเสื่อมสภาพไปตามวัย รวมถึงการขาดการออกกำลังกาย การดื่มสุรา การรับประทานอาหารที่มีแคลเซียมน้อย เป็นต้น

กระดูกพรุนในผู้สูงอายุ

อาการของโรคกระดูกพรุนโดยทั่วไป มักจะมี 2 ระยะ คือ

  • ในระยะเริ่มต้น ที่มวลกระดูกเริ่มลดลงเรื่อยๆ ผู้ป่วยมักจะไม่มีอาการอะไรเลย ส่วนใหญ่มักจะเริ่มต้นในผู้หญิงที่เริ่มหมดประจำเดือน และมีปัจจัยเสี่ยง ช่วงนี้สามารถตรวจสอบได้จากการวัดความหนาแน่นของมวลกระดูกเท่านั้น
  • ในระยะที่กระดูกพรุนชนิดรุนแรงคือ มีกระดูกโปร่งบางมาก ร่วมกับมีกระดูกสันหลังหักยุบ หรือการเกิดกระดูกสะโพกหัก ผู้ป่วยมักจะมีอาการปวดหลัง หลังโก่งค่อม และสังเกตได้ว่าส่วนสูงของผู้ป่วยลดลง ในบางครั้งอาการปวดหลังอาจจะร้าวมาที่บริเวณหน้าอก หลังโก่ง ทานข้าวได้น้อยลง อืดท้องแน่นท้อง มักจะพบได้ในผู้ป่วยที่มีอายุมากกว่า 65 ปีขึ้นไป บางครั้งอาจเกิดกระดูกหักที่ตำแหน่งบริเวณข้อมือ กระดูกหักง่าย ปวดเมื่อยตามร่างกาย

ปัจจัยเสี่ยงกับโรคกระดูกพรุน

1. ผู้สูงอายุ โดยเฉพาะเพศหญิง
2. หญิงวัยหมดประจำเดือน หรือตัดรังไข่ออกทั้ง 2 ข้าง
3. กระดูกหักจากกระดูกบาง
4. ผู้ที่ขาดการออกกำลังกาย
5. รับประทานอาหารที่มีแคลเซียมไม่เพียงพอ
6. สูบบุหรี่จัด
7. ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และคาเฟอีนปริมาณมากๆ เป็นประจำ
8. ผู้ที่กินยาบางชนิด ซึ่งทำให้การดูดซึมแคลเซียมเข้าสู่ร่างกายลดลง เช่น ยารักษาไทรอยด์ ยาสเตียรอยด์ ยาขับปัสสาวะ เป็นต้น
9. ผู้ที่ป่วยเป็นโรคที่เกิดจากการทำงานของต่อมไร้ท่อผิดปกติ เช่น โรคไทรอยด์ โรคเบาหวาน
10. โรคของต่อมหมวกไต หรือการเข้าเฝือกเป็นระยะเวลานาน โรคอัมพฤกษ์ อัมพาต

การตรวจวัดมวลกระดูก

การตรวจมวลกระดูกด้วยเครื่องตรวจ DEXA Scan

เพราะภาวะกระดูกพรุนนับว่าเป็นภัยเงียบที่ไม่มีสัญญาณเตือน การตรวจวัดมวลกระดูกจะช่วยให้เราทราบว่าสุขภาพกระดูกของเรานั้นอยู่ในระดับใด และช่วยในการวินิจฉัยว่าเราเป็นโรคกระดูกพรุนหรือไม่ เพื่อที่จะสามารถหาทางดูแลและชะลอการเกิดภาวะกระดูกพรุนได้

ที่ Wellness center โรงพยาบาลวัฒนแพทย์ ตรัง มีบริการตรวจภาวะกระดูกพรุนด้วยเครื่อง DEXA Scan ที่ไม่เพียงแค่ตรวจดูภาวะกระดูกพรุนได้เท่านั้น แต่สามารถบอกได้ถึงค่าความหนาแน่นของมวลกระดูกเพื่อให้ผู้รับสามารถทราบได้ถึงระดับความแข็งแรงของกระดูกด้วย


 

โปรแกรมตรวจมวลกระดูก ตรวจกระดูกส่วนสะโพกและหลัง ราคา 1,999 บาท
(รวมค่าแพทย์และค่าบริการโรงพยาบาลแล้ว)

แพทย์ที่เกี่ยวข้อง

แพ็กเกจและโปรโมชั่น

บัตรสมาชิก WATTANAPAT THE EXCLUSIVE
5,000

บาท

ดูรายละเอียด
แพ็กเกจผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียม
198,000

บาท

ดูรายละเอียด
แพ็กเกจฉีดน้ำหล่อเลี้ยงข้อเข่า เพื่อรักษาข้อเข่าเสื่อม
25,000

บาท

ดูรายละเอียด
โปรแกรมตรวจสุขภาพประจำปี Annual Check-Up
2,299

บาท

ดูรายละเอียด
ฉีดเกล็ดเลือดเข้มข้น (PRP) รักษาอาการข้อเข่าเสื่อม
7,900

บาท

ดูรายละเอียด
การบำบัดด้วยออกซิเจนความดันสูง (HBOT)
2,500

บาท

ดูรายละเอียด
แพ็กเกจตรวจสุขภาพ Wattanapat 62nd Birthday สุดคุ้ม ราคาเดียว ได้ทุกวัย
2,620

บาท

ดูรายละเอียด

บทความเพื่อสุขภาพ

BIRTHDAY PACKAGE ตรวจแล้วรู้อะไรบ้างนะ มาดูกัน
BIRTHDAY PACKAGE ตรวจแล้วรู้อะไรบ้างนะ มาดูกัน

ในปัจจุบันไลฟ์สไตล์คนรุ่นใหม่มักมีพฤติกรรมที่ทำให้สุขภาพแย่ลง เช่น นอนดึก สูบบุหรี่ ดื่มแอลกอฮอล์ ทานอาหารรสจัดหรือปิ้งย่างบ่อยๆ ยิ่งเพิ่มความเสี่ยงในการเกิด...
ดูรายละเอียด

5 อาหารเจที่อาจเสี่ยงทำลายสุขภาพมากกว่าที่คาดคิด
5 อาหารเจที่อาจเสี่ยงทำลายสุขภาพมากกว่าที่คาดคิด
5 อาหารเจที่อาจเสี่ยงทำลายสุขภาพมากกว่าที่คาดคิด

แม้ว่าการเลือกบริโภคอาหารเจจะเป็นทางเลือกที่หลายคนมองว่าเป็นแนวทางในการรักษาสุขภาพ ด้วยการหลีกเลี่ยงการบริโ...
ดูรายละเอียด

เสริมภูมิคุ้มกันเพื่อผู้ใหญ่และผู้สูงวัย ด้วยวัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่ และปอดอักเสบ (IPD)
เสริมภูมิคุ้มกันเพื่อผู้ใหญ่และผู้สูงวัย ด้วยวัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่ และปอดอักเสบ (IPD)
สูงวัยอุ่นใจ วัคซีนไข้หวัดใหญ่และวัคซีนป้องกันปอดอักเสบช่วยได้

การฉีดวัคซีนเพื่อเสริมภูมิคุ้มกันเราอาจจะมองว่าเป็นเรื่องสำหรับเด็ก แต่จริงๆ แล้...
ดูรายละเอียด

รักษาข้อเข่าเสื่อม ไม่ต้องผ่าตัดด้วยการฉีดเกล็ดเลือดเข้มข้น PRP
รักษาข้อเข่าเสื่อม ไม่ต้องผ่าตัดด้วยการฉีดเกล็ดเลือดเข้มข้น PRP
ปวดเข่าเพราะข้อเข่าเสื่อม

หากคุณมีปัญหาเกี่ยวกับข้อเข่าเสื่อม เจ็บบริเวณข้อเข่า ปวดเข่า อาการเหล่านี้เป็นปัญหาส่งผลต่อการทำกิจวัตรประจำวันเป็นอย่างมาก โ...
ดูรายละเอียด

ทำไมผู้สูงวัย จึงควรได้รับวัคซีนไข้หวัดใหญ่แบบ High Dose
ทำไมผู้สูงวัย จึงควรได้รับวัคซีนไข้หวัดใหญ่แบบ High Dose

วัคซีนไข้หวัดใหญ่ สำหรับผู้สูงอายุ

เพราะผู้สูงวัยนับเป็นกลุ่มเสี่ยงที่จะได้รับอันตรายจากโรคไข้หวัดใหญ่สูงกว่าคนวัยหนุ่มสาว โดยจากสถิติพบว่า ผู้สู...
ดูรายละเอียด

ผ่าตัดส่องกล้องรักษาหมอนรองกระดูกข้อเข่า แผลเล็ก ฟื้นตัวเร็ว
ผ่าตัดส่องกล้องรักษาหมอนรองกระดูกข้อเข่า แผลเล็ก ฟื้นตัวเร็ว
ผ่าตัดผ่านกล้องเย็บซ่อมหมอนรองกระดูกเข่า

หมอนรองกระดูกเข่าเป็นอวัยวะสำคัญในการรองรับแรงกระแทก การผ่าตัดผ่านกล้องเพื่อเย็บซ่อมหมอนรองกระดูกเข่าในกรณีที่มีการ...
ดูรายละเอียด

สัญญาณไม่มีเสียงเตือน ของโรคที่พบบ่อยในผู้สูงวัย
สัญญาณไม่มีเสียงเตือน ของโรคที่พบบ่อยในผู้สูงวัย
สัญญาณเตือนที่ผู้สูงอายุควรตรวจสุขภาพ

ระบบต่างๆ ในร่างกายผู้สูงอายุมีการเปลี่ยนแปลงตามอายุที่เพิ่มขึ้น ทำให้อาการแสดงของโรคหรือปัญหาสุขภาพหลายๆ อย่างไม่...
ดูรายละเอียด

วัคซีนไข้หวัดใหญ่ ฉีดไว้กันอะไรได้บ้าง
วัคซีนไข้หวัดใหญ่ ฉีดไว้กันอะไรได้บ้าง
วัคซีนไข้หวัดใหญ่สำคัญยังไง แล้วทำไมเราถึงควรฉีด

โรคไข้หวัดใหญ่เกิดจากเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ (Influenza Virus) ซึ่งมีอยู่ 3 สายพันธุ์ คือ A , B และ...

ดูรายละเอียด
เลือกแพ็กเกจตรวจสุขภาพยังไง ให้ใช่สำหรับคุณ
เลือกแพ็กเกจตรวจสุขภาพยังไง ให้ใช่สำหรับคุณ
เทคนิคการเลือกแพ็กเกจตรวจสุขภาพ...ที่ใช่สำหรับคุณ

ปัญหาเรื่องสุขภาพอาจเกิดขึ้นได้ตลอดเวลา การตรวจสุขภาพอย่างสม่ำเสมอจะเป็นการช่วยหาสาเหตุของโรคหรือควา...
ดูรายละเอียด

ข้อเข่าเสื่อม โรคที่มาตามวัยชะลอยังไง
ข้อเข่าเสื่อม โรคที่มาตามวัยชะลอยังไง

 

คำถามนี้..มีคำตอบ  ข้อเข่าเสื่อม โรคที่มาตามวัย ชะลอยังไงดี?

ข้อเข่า เป็นข้อรับน้ำหนักที่ใหญ่ที่สุดของร่างกาย ข้อเข่าที่ปกติ แล...
ดูรายละเอียด

ทำไมต้องตรวจสุขภาพประจำปี
ทำไมต้องตรวจสุขภาพประจำปี

ตรวจสุขภาพ สำคัญกว่าที่คิด

ด้วยมลพิษมากมายในปัจจุบัน ส่งผลให้สุขภาพของคนเราย่ำแย่ตามไปด้วย หลายคนมองข้ามความสำคัญของการตรวจสุขภาพ เพราะเห็นว่าร่า...
ดูรายละเอียด

ปวดหลังปวดคอขนาดไหน ถึงต้องทำ MRI
ปวดหลังปวดคอขนาดไหน ถึงต้องทำ MRI

ปวดหลังปวดคอขนาดไหน ถึงต้องทำ MRI

สำหรับคนที่มีอาการปวดหลังเรื้อรัง ไม่หายสักที แม้ว่าจะเปลี่ยนอิริยาบถ เปลี่ยนพฤติกรรมการนั่ง การยกของหนัก ๆ หรือ...

ดูรายละเอียด
ข้อเข่าเสื่อม รักษาได้ โดยไม่ต้องผ่าตัด
ข้อเข่าเสื่อม รักษาได้ โดยไม่ต้องผ่าตัด
ข้อเข่าเสื่อม รักษาได้ โดยไม่ต้องผ่าตัด

โรคข้อเข่าเสื่อมเป็นโรคที่พบได้เป็นปกติในผู้สูงอายุ เพราะเป็นโรคที่เกิดขึ้นจากการเสื่อมสภาพของร่างกายตามการใช้งานและ...
ดูรายละเอียด