อาการแพ้อาหารในเด็ก เรื่องเล็กๆที่ไม่ควรละเลย

เมื่อลูกน้อยอายุ 4-6 เดือน เป็นวัยที่ควรได้รับอาหารเสริมนอกเหนือจากนมแม่ ซึ่งคุณพ่อคุณแม่อาจมีความกังวลเรื่องการแพ้อาหารในเด็กเล็ก ไม่มั่นใจว่าลูกแพ้อาหารอะไรบ้าง? เพราะอาจเสี่ยงต่ออาการรุนแรงที่ถึงขั้นเสียชีวิตได้ ทางคลินิกเด็กวัฒนแพทย์ ตรัง จึงเตรียมความพร้อมเพื่อลดความกังวลเหล่านี้ ด้วยการทดสอบการแพ้อาหารในเด็ก


เด็กแพ้อาหาร ตรวจภูมิแพ้ในเด็ก


อาการแพ้อาหารในเด็ก สามารถแบ่งออกได้หลายแบบ เช่น

  • แบ่งตามอาการที่แสดงตามอวัยวะของร่างกาย
  • ผิวหนัง เช่น ผื่นลมพิษ ผื่นเม็ดทรายที่ผิวหนัง
  • ทางเดินอาหาร เช่น อาเจียน ปวดท้อง ท้องเสีย ท้องผูก ถ่ายมีมูกปนเลือด เป็นต้น
  • ทางเดินหายใจ เช่น น้ำมูก นอนกรน หายใจเสียงดังเหมือนมีเสมหะ หลอดลมตีบแคบ เป็นต้น
  •  แบ่งตามเวลาที่แสดงอาการ
  • แสดงอาการแบบฉับพลัน คือ มีอาการแพ้ทันทีหลังรับประทานอาหาร ภายใน 2-6 ชั่วโมง ถ้ามีอาการที่ค่อนข้างรุนแรง เช่น มีผื่นลมพิษขึ้นทั้งตัว หน้าแดง รอบปาก รอบตาบวมแดง หลอดลมตีบ อาจรุนแรงถึงขั้นความดันโลหิตต่ำ หมดสติ และเสียชีวิตได้ แต่ในกรณีที่ไม่รุนแรงมากอาจมีอาการเพียงระบบใดระบบหนึ่ง เช่น เป็นผื่นเม็ดทรายขึ้นตามตัว มีน้ำมูกหรือคัดจมูก เป็นต้น
  • แสดงอาการแบบล่าช้า คือ อาการแพ้อาหาร หลังรับประทานอาหารไปแล้วมากกว่า 12-24 ชั่วโมง ส่วนใหญ่เป็นอาการทางระบบทางเดินอาหารเป็นหลัก เช่น มีอาเจียน หรือมีท้องเสียอุจจาระมีมูกหรือเลือดปน เป็นต้น

อาหารที่เด็กๆ มักมีอาการแพ้

ได้แก่ นมวัว ไข่ แป้งสาลี ถั่วเหลือง ถั่วชนิดต่างๆ และอาหารทะเล เช่น กุ้ง ปู หอย ปลา เป็นต้น


อยากรู้ว่าลูกแพ้อาหารอะไรบ้าง

หากคุณพ่อคุณแม่สงสัยว่าลูกแพ้อาหาร เบื้องต้นควรมาพบแพทย์ เพื่อซักประวัติและตรวจร่างกายอย่างละเอียด หากแพทย์สงสัยว่าแพ้อาหารชนิดไหน สามารถทำการทดสอบด้วยวิธีสะกิดผิว (Skin Prick Test) หรือการเจาะเลือดเพื่อวัดระดับการแพ้ที่จำเพาะต่ออาหารชนิดนั้นๆ (Allergy Screening Blood Test)


การสะกิดผิวหนัง หรือ Skin Prick Test คืออะไร?

คือ การนำสารสกัดของอาหารที่สงสัยว่าแพ้มาสะกิดที่ผิวหนัง สังเกตดูอาการนูนแดงที่ 15-20 นาที โดยการตรวจวิธีนี้เด็กต้องหยุดยาแก้แพ้ต่างๆ อย่างน้อย 7 วันก่อนทำการทดสอบ หากมีลักษณะนูนแดงและสัมพันธ์กับอาหารและเวลาที่กิน แสดงว่าแพ้อาหารชนิดนั้น


ทดสอบภูมิแพ้โดยการเจาะเลือด (Allergy Screening Blood Test)

การทดสอบเลือดในโรคภูมิแพ้ สามารถทดสอบได้ในผู้ที่ไม่สามารถทดสอบทางผิวหนังแบบสะกิดได้ หรือมีอาการแพ้อย่างรุนแรงต่อสารที่จะทำการทดสอบ และยังทดสอบในเด็กอายุต่ำกว่า 6 เดือนได้ โดยการเจาะเลือดหาภูมิต่อต้านสารก่อภูมิแพ้

แพ็กเกจและโปรโมชั่น

วัคซีนป้องกันโรคไอพีดี (IPD Vaccine)
2,899

บาท

ดูรายละเอียด
แพ็กเกจตรวจภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก
2,499

บาท

ดูรายละเอียด
แพ็กเกจวัคซีนเด็ก ชุดเหมาจ่าย
6,599

บาท

ดูรายละเอียด

บทความเพื่อสุขภาพ

รวมทริคดีๆ ให้คุณพ่อ คุณแม่ ดูแลสุขภาพลูก สู้เปิดเรียนปลายฝน ต้นหนาว
รวมทริคดีๆ ให้คุณพ่อ คุณแม่ ดูแลสุขภาพลูก สู้เปิดเรียนปลายฝน ต้นหนาว
รวมทริคดีๆ ให้คุณพ่อ คุณแม่ ดูแลสุขภาพลูก สู้เปิดเรียนปลายฝน ต้นหนาว

เมื่ออากาศเปลี่ยนแปลงจากฤดูฝนเป็นฤดูหนาว สภาพร่างกายของเด็กๆ ยังอาจปรับตัวไม่ทัน ...
ดูรายละเอียด

ทำไมไข้หวัดใหญ่ในเด็ก ถึงอันตรายกว่าผู้ใหญ่
ทำไมไข้หวัดใหญ่ในเด็ก ถึงอันตรายกว่าผู้ใหญ่
ทำไมไข้หวัดใหญ่ในเด็ก ถึงอันตรายกว่าผู้ใหญ่  

ไข้หวัดใหญ่สามารถส่งผลกระทบต่อทุกวัย แต่ในเด็ก โดยเฉพาะกลุ่มเด็กเล็ก พวกเขามีความเสี่ยงมากกว่าผู้ใหญ...
ดูรายละเอียด

เช็กอาการแรกเริ่มของ RSV สัญญาณแรกที่บ่งบอกว่าลูกน้อยอาจติดเชื้อไวรัส
เช็กอาการแรกเริ่มของ RSV สัญญาณแรกที่บ่งบอกว่าลูกน้อยอาจติดเชื้อไวรัส

เมื่อเริ่มเข้าช่วงหน้าฝน ก็หลีกเลี่ยงไม่ได้เลยที่อาการป่วยมากมายจะกลับมา ทั้งไข้ ไอ หวัด ไ...
ดูรายละเอียด

ทำอย่างไรดี เมื่อลูกไอบ่อย
ทำอย่างไรดี เมื่อลูกไอบ่อย
ทำอย่างไรดี เมื่อลูกไอบ่อย

การที่ลูกไอบ่อยเป็นเรื่องที่ทำให้พ่อแม่หลายคนกังวลใจ แต่การรู้จักสาเหตุและวิธีการดูแลที่เหมาะสมสามารถช่...
ดูรายละเอียด

สนุกกับกิจกรรมพร้อมพัฒนาลูกน้อยอย่างถูกหลัก ด้วย กิจกรรมบำบัด
สนุกกับกิจกรรมพร้อมพัฒนาลูกน้อยอย่างถูกหลัก ด้วย กิจกรรมบำบัด
กิจกรรมบำบัด กระตุ้นพัฒนาการเด็ก ทำอะไรได้บ้าง กิจกรรมบำบัด กระตุ้นพัฒนาการเด็ก มีอะไรบ้างและช่วยพัฒนาการด้านใด (Treatment Program) 1. Child Developme...
ดูรายละเอียด
กิจกรรมบำบัด สำคัญอย่างไรสำหรับเด็กๆ
กิจกรรมบำบัด สำคัญอย่างไรสำหรับเด็กๆ
พัฒนาประสาทสัมผัสองค์รวมของเด็ก ด้วยกิจกรรมบำบัด

กิจกรรมบำบัดคืออะไร? 

กิจกรรมบำบัดเป็นการบำบัดรักษา เพื่อฟื้นฟูความสามารถในการทำกิจวัตรป...
ดูรายละเอียด

ทำอย่างไรเมื่อลูกติดไข้หวัดใหญ่ สายพันธุ์ A
ทำอย่างไรเมื่อลูกติดไข้หวัดใหญ่ สายพันธุ์ A
ไข้หวัดใหญ่ สายพันธุ์ใหม่ ชนิดเอ เอช1 เอ็น1 (Influenza A (H1N1)

เป็นโรคที่แพร่ติดต่อระหว่างคนสู่คน พบที่ประเทศเม็กซิโก และสหรั...
ดูรายละเอียด

3 ท่าเคาะปอดเมื่อลูกมีเสมหะ
3 ท่าเคาะปอดเมื่อลูกมีเสมหะ
3 ท่าเคาะปอด ลดเสมหะลูกน้อย ที่พ่อแม่ต้องรู้

อาการไอ และมีเสมหะ เป็นหนึ่งในอาการป่วยยอดฮิตที่ลูกน้อยเป็นอยู่ประจำ คุณพ่อคุณแม่หลายคนอาจรู้สึกกังวลใจเวลาที...
ดูรายละเอียด

โรคหอบหืดในเด็ก สังเกตจากอะไร?
โรคหอบหืดในเด็ก สังเกตจากอะไร?
จะรู้ได้อย่างไร ว่าลูกเป็นโรคหอบหืด การสังเกตอาการ และการรักษา

โรคหอบหืด คืออะไร?

โรคหืด คือ โรคที่หลอดลมมีการตีบแคบฉับพลัน เนื่องจากหลอดลมมีก...
ดูรายละเอียด

จะเป็นอย่างไร หากลูกไม่ได้รับวัคซีนตามช่วงอายุ
จะเป็นอย่างไร หากลูกไม่ได้รับวัคซีนตามช่วงอายุ
วัคซีนหลักสำหรับลูกน้อยนั้นสำคัญยังไง ทำไมถึงต้องฉีดให้ตรงวัย และตรงเวลา

การฉีดวัคซีนเด็กวัยแรกเกิดจนถึงอายุ 12 ปี นับว่าเป็นสิ่งที่คุณพ่อคุณแม่ผู้ปกค...
ดูรายละเอียด

เมนูแนะนำ เมื่อลูกน้อยเป็นโรค มือ เท้า ปาก
เมนูแนะนำ เมื่อลูกน้อยเป็นโรค มือ เท้า ปาก
โรคมือเท้าปาก (Hand Foot Mouth Disease) 

เป็นโรคที่เกิดจากการติดเชื้อไวรัส สายพันธุ์ที่พบบ่อย ได้แก่ Coxsackievirus A16 และ Enterovirus 71 ซึ่งโรคนี้มั...
ดูรายละเอียด

สถิติการป่วยของเด็กในช่วง 3 เดือนที่
สถิติการป่วยของเด็กในช่วง 3 เดือนที่ "วัฒนแพทย์"
สถิติการป่วยของเด็กในช่วง 3 เดือนที่ "วัฒนแพทย์"

เมื่อเข้าสู่ช่วงฤดูฝนและเปิดเทอมไปเป็นที่เรียบร้อย สถิติผู้ป่วยที่เป็นเด็กจึงมีจำนวนเพิ่มขึ้น โรงพยาบาลวั...
ดูรายละเอียด

อาการแพ้อาหารในเด็ก เรื่องเล็กๆที่ไม่ควรละเลย
อาการแพ้อาหารในเด็ก เรื่องเล็กๆที่ไม่ควรละเลย

เมื่อลูกน้อยอายุ 4-6 เดือน เป็นวัยที่ควรได้รับอาหารเสริมนอกเหนือจากนมแม่ ซึ่งคุณพ่อคุณแม่อาจมีความกังวลเรื่องการแพ้อาหารในเด็กเล็ก ไม่มั่นใจว่าลูกแพ้อาหารอะไ...
ดูรายละเอียด

ภาวะซีด หรือโลหิตจางในเด็ก
ภาวะซีด หรือโลหิตจางในเด็ก
ภาวะซีด หรือโลหิตจางในเด็ก

ปัญหาภาวะซีดในเด็ก ถือเป็นปัญหาที่พบได้บ่อยในปัจจุบัน ซึ่งอาจเกิดจากการขาดสารอาหาร พ่อแม่อาจแปลกใจว่าทำไมลูกถึงมีภาวะขาดสารอาหารไ...
ดูรายละเอียด

วัคซีนเสริมสำหรับเด็ก สำคัญเหมือนกับวัคซีน หลักหรือไม่
วัคซีนเสริมสำหรับเด็ก สำคัญเหมือนกับวัคซีน หลักหรือไม่
วัคซีนเสริมสำหรับเด็ก สำคัญเหมือนกับวัคซีน หลักหรือไม่

 ปัจจุบันวัคซีนสำหรับลูกน้อยมีทั้งหมด 2 กลุ่ม คือ วัคซีนที่อยู่ในแผนเสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรค ของ...
ดูรายละเอียด

MIS-C คืออะไรทำไมอันตรายถึงชีวิด
MIS-C คืออะไรทำไมอันตรายถึงชีวิด
MIS-C คืออะไร ทำไมอันตรายถึงชีวิต

MIS-C มักเกิดขึ้น 2-6 สัปดาห์หลังจากเด็กและวัยรุ่นหายป่วยจากโควิด-19 อายุเฉลี่ยของเด็กที่มีรายงานคือ 8 ปี นอกจากน...
ดูรายละเอียด

ภัยร้ายของลูกน้อย โรคไวรัส RSV
ภัยร้ายของลูกน้อย โรคไวรัส RSV

 

...

ดูรายละเอียด