อัลตร้าซาวด์ช่องท้องบอกอะไรเราได้บ้าง

อัลตร้าซาวด์ช่องท้อง 1 ที ตรวจดูอวัยวะในร่างกายได้เป็น 10 แล้วอัลตร้าซาวด์ช่องท้องนี้บอกโรคอะไรเราได้บ้าง


 


อัลตร้าซาวนด์ช่องท้อง คือ การตรวจวินิจฉัยด้วยคลื่นความถี่สูง นำมาใช้ประโยชน์ในการตรวจอวัยวะต่างๆ ของร่างกาย


โดยแบ่งวิธีการอัลตร้าซาวนด์ช่องท้องออกเป็น 3 แบบ 


1.ตรวจอัลตร้าซาวนด์ช่องท้องส่วนบน (Ultrasound Upper Abdomen)

ได้แก่ ตับ ม้าม ถุงน้ำดี และช่องท้องทั่วไป

  1. ตรวจนิ่วในถุงน้ำดี นิ่วในทางเดินปัสสาวะ
  2. ตรวจหลอดเลือดแดงใหญ่ของช่องท้อง ดูการตีบ-ตัน

 การเตรียมตัว : ผู้ใหญ่งดอาหารอย่างน้อย 6 ชั่วโมงก่อนการตรวจ ในเด็กอาจลดลงเหลือเพียง 3-4 ชั่วโมง (กรณีตัดถุงน้ำดีไปแล้ว ไม่ต้องงดอาหารก่อนตรวจ)


 2.การตรวจอวัยวะในช่องท้องส่วนล่าง (Ultrasound Lower Abdomen)

ได้แก่ มดลูก รังไข่ ต่อมลูกหมาก ไส้ติ่ง

  1. ตรวจมดลูก รังไข่ ต่อมลูกหมาก
  2. วินิจฉัยไส้ติ่งอักเสบ

การเตรียมตัว : ดื่มน้ำมากๆ เพื่อให้มีน้ำในกระเพาะปัสสาวะมากพอที่จะดันลำไส้ขึ้นไปส่วนบน ทำให้เห็นอวัยวะต่างๆ ได้ชัดเจนขึ้น


3.การตรวจอวัยวะในช่องท้องทั้งหมด (Ultrasound Whole Abdomen)

ตรวจดูอวัยวะในช่องท้องทั้งหมด เช่น ตับ ม้าม ถุงน้ำดี ไต มดลูก รังไข่ ต่อมลูกหมาก กระเพาะปัสสาวะ ไส้ติ่ง

การเตรียมตัว : ควรงดอาหาร และเครื่องดื่มที่มีไขมันทุกชนิด ประมาณ 4-6 ชั่วโมง (แต่ดื่มน้ำเปล่าได้) พร้อมกลั้นปัสสาวะเอาไว้ เพราะจะทำให้มองเห็นอวัยวะในช่องท้องทั้งหมดได้อย่างชัดเจน


ใครบ้างที่ควรตรวจอัลตร้าซาวด์ช่องท้อง


1.ปวดหรือรู้สึกไม่สบายท้อง

หากคุณมีอาการปวดท้องเรื้อรังหรือรู้สึกผิดปกติในช่องท้องการทำอัลตราซาวด์ช่องท้องจะช่วงให้แพทย์สามารถมองเห็นอวัยวะและโครงสร้างต่างๆ ที่อยู่ในช่องท้อง เช่น กระเพาะ, ตับ, กระเพาะปัสสาวะ, ไต และลำไส้เพื่อให้สามารถตรวจดูและวินิจฉัยอาการได้


2.ปัญหาเกี่ยวกับระบบย่อยาหาร

สำหรับผู้ที่มีปัญหาเกี่ยวกับระบบทางเดินอาหาร, การทำอัลตราซาวด์ช่องท้องสามารถช่วยประเมินสภาพของอวัยวะ เช่น ตับ กระเพาะ และถุงน้ำดี และจะช่วยในการพบปัญหาเช่น นิ่วในถุงน้ำดี หรือความผิดปกติของตับ


3.โรคตับหรือถุงน้ำดี

เพื่อประเมินสภาพของตับและถุงน้ำดีเพื่อการวินิจฉัยโรค เช่น โรคตับแข็ง ไขมันพอกตับ หรือ นิ่วในถุงน้ำดี


4.โรคดีซ่าน หรือภาวะตัวเหลือง (Jaundice)

หากคุณมีอาการผิวหนังหรือตาเปลี่ยนเป็นสีเหลือง อาจมีสาเหตุมาจากความผิดปกติของตับหรือท่อน้ำดี


5.น้ำหนักลดลงอย่างผิดปกติ

หากคุณน้ำหนักลดลงอย่างรวดเร็ว การทำอัลตราซาวด์ช่องท้องสามารถช่วยหาสาเหตุได้ เพราะอาจะเกิดจากความผิดปกติของอวัยวะในช่องท้อง


6.ปัญหาไต

เพื่อประเมินขนาด, รูปร่าง, และสภาพของไต และตรวจหานิ่วในไตหรือภาวะความผิดปกติอื่นๆ


7.ปัญหากระเพาะปัสสาวะ

ในกรณีของการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะที่เกิดซ้ำๆ หรือปัญหาในการทำงานของกระเพาะปัสสาวะที่ผิดปกติ


8.พบก้อนหรือการบวมในช่องท้อง

หากมีก้อนหรือพบการบวมที่สัมผัสได้ช่องท้อง การอัลตราซาวด์ช่องท้องสามารถช่วยให้เห็นลักษณะของก้อนและสาเหตุของอาการบวดที่เกิดขึ้นว่าเกิดจากส่วนไหน หรือเป็นการปวดที่อวัยวะส่วนใดในช่องท้องเพื่อนำไปสู่การรักษาที่ถูกวิธี


 แพ็กเกจตรวจสุขภาพสุดคุ้ม เหมาะสำหรับทุกวัยพร้อมอัลตร้าซาวด์ช่องท้อง


สนใจแพ็กเกจ คลิ๊ก

 

 

 

แพทย์ที่เกี่ยวข้อง

แพ็กเกจและโปรโมชั่น

ล้มรถ รถชน มาวัฒนแพทย์ไม่ต้องเสียสักบาท มี พ.ร.บ. คุ้มครองทันที 30,000 บาท
   
ดูรายละเอียด
โครงการเบิกจ่ายตรงค่ารักษาพยาบาลกับกรมบัญชีกลาง
   
ดูรายละเอียด
แพ็กเกจคลอด วัฒนแพทย์ ตรัง
   
ดูรายละเอียด
โปรแกรมกิจกรรมบำบัดสำหรับเด็ก กระตุ้นพัฒนาการ เสริมสมาธิ
750

บาท

ดูรายละเอียด
โปรโมชั่นต้อนรับซัมเมอร์ Wattanapat Health Expo
   
ดูรายละเอียด

บทความเพื่อสุขภาพ

6 ขั้นตอน ยื่นขอ ค่าคลอดบุตร ค่าสงเคราะห์บุตร ผ่านประกันสังคมออนไลน์ (e-Self Service)
6 ขั้นตอน ยื่นขอ ค่าคลอดบุตร ค่าสงเคราะห์บุตร ผ่านประกันสังคมออนไลน์ (e-Self Service)
6 ขั้นตอนยื่นขอค่าคลอดบุตรค่าสงเคราะห์บุตรผ่านประกันสังคมออนไลน์ (e-Self Service) เข้าเว็บไซต์ประกันสังคม www.sso.go.th
ดูรายละเอียด
ทำไมซื้อยาทานเองน่ากลัวกว่าผี
ทำไมซื้อยาทานเองน่ากลัวกว่าผี
ทำไมซื้อยาทานเองน่ากลัวกว่าผี

เมื่อมีความเจ็บป่วยไม่สบายเกิดขึ้น สิ่งแรกที่ทุกคนคิดถึงก็คงเป็น “ยา” และช่องทางการได้มาซึ่...
ดูรายละเอียด

ลูกร้องตอนกลางคืน เพราะไม่สบาย หรือเป็นโคลิค
ลูกร้องตอนกลางคืน เพราะไม่สบาย หรือเป็นโคลิค
ลูกร้องตอนกลางคืน เพราะไม่สบาย หรือเป็นโคลิค เด็กร้องไห้ มีสาเหตุมาจากอะไร

การที่ลูกรักของคุณพ่อและคุณแม่มือใหม่มีอาการร้องไห้ไม่หยุด เด็กบางคนอาจร้อ...
ดูรายละเอียด

ออกซิเจนบำบัด ช่วยรักษาแผลเบาหวานได้แค่ไหน
ออกซิเจนบำบัด ช่วยรักษาแผลเบาหวานได้แค่ไหน
การทำออกซิเจนบำบัดเพื่อรักษาแผลเบาหวาน

โรคเบาหวานเป็นโรคเรื้อรังที่มีผลกระทบต่อระบบต่าง ๆ ในร่างกาย โดย 1 ในอาการขึ้นชื่อที่ที่กัลงวลของผู้ป่วยเบาหวาน...
ดูรายละเอียด

มะเร็งตับ ไม่ใช่สายดื่มหนักก็เสี่ยง
มะเร็งตับ ไม่ใช่สายดื่มหนักก็เสี่ยง
โรคมะเร็งตับ กับการดื่มแอลกอฮอล์ โรคมะเร็งตับ

เป็นมะเร็งที่พบได้มากที่สุดเป็นอันดับ 1 ของโรคมะเร็งที่เกิดในผู้ชายไทย โดยมักพบในคนอายุ 30-70 ปี และพบไ...
ดูรายละเอียด

อะดีโนไวรัส น่ากลัวแค่ไหนป้องกันยังไงดี
อะดีโนไวรัส น่ากลัวแค่ไหนป้องกันยังไงดี

อะดีโนไวรัส คืออะไรติดแล้วมีอาการอย่างไรบ้าง

อะดีโนไวรัส (Adenovirus) เป็นไวรัสที่ส่งผลให้เกิดอาการป่วยในเด็กมากกว่าผู้ใหญ่ โดยเฉพาะเด็กเล็ก อายุ...
ดูรายละเอียด

ทำอย่างไรเมื่อลูกติดไข้หวัดใหญ่ สายพันธุ์ A
ทำอย่างไรเมื่อลูกติดไข้หวัดใหญ่ สายพันธุ์ A
ไข้หวัดใหญ่ สายพันธุ์ใหม่ ชนิดเอ เอช1 เอ็น1 (Influenza A (H1N1)

เป็นโรคที่แพร่ติดต่อระหว่างคนสู่คน พบที่ประเทศเม็กซิโก และสหรั...
ดูรายละเอียด

อัลตร้าซาวด์ช่องท้องบอกอะไรเราได้บ้าง
อัลตร้าซาวด์ช่องท้องบอกอะไรเราได้บ้าง
อัลตร้าซาวด์ช่องท้อง 1 ที ตรวจดูอวัยวะในร่างกายได้เป็น 10 แล้วอัลตร้าซาวด์ช่องท้องนี้บอกโรคอะไรเราได้บ้าง

 

อัล...
ดูรายละเอียด

จะเป็นอย่างไร หากลูกไม่ได้รับวัคซีนตามช่วงอายุ
จะเป็นอย่างไร หากลูกไม่ได้รับวัคซีนตามช่วงอายุ
วัคซีนหลักสำหรับลูกน้อยนั้นสำคัญยังไง ทำไมถึงต้องฉีดให้ตรงวัย และตรงเวลา

การฉีดวัคซีนเด็กวัยแรกเกิดจนถึงอายุ 12 ปี นับว่าเป็นสิ่งที่คุณพ่อคุณแม่ผู้ปกค...
ดูรายละเอียด

หากติดโควิด-19 จะต้องทำอย่างไร รวมทุกเรื่องต้องรู้เอาไว้ที่นี่
หากติดโควิด-19 จะต้องทำอย่างไร รวมทุกเรื่องต้องรู้เอาไว้ที่นี่

กระทรวงสาธารณสุขได้ออกประกาศกำหนดให้โควิด-19 เป็นโรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวัง ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2565 เป็นต้นไป โดยจะมีการนำ พ.ร.บ. โรคติดต่อ 255...
ดูรายละเอียด

โรคไหนบ้างที่พบได้จากการตรวจ Ultrasound
โรคไหนบ้างที่พบได้จากการตรวจ Ultrasound

ตรวจอัลตร้าชาวด์เช็คความผิดปกติ

การอัลตร้าซาวด์ (Ultrasound หรือ Ultrasound scanning) คือการตรวจวินิจฉัยโรคโดยการใช้คลื่นเสียงกำลังสูงสะท้อนให้เก...
ดูรายละเอียด

มือ เท้า ปาก อาการเริ่มต้นที่ควรพาลูกมาหาหมอ
มือ เท้า ปาก อาการเริ่มต้นที่ควรพาลูกมาหาหมอ
อาการและภาวะแทรกซ้อนของโรคมือเท้าปาก โรคมือเท้าปาก เป็นโรคที่เกิดจากการติดเชื้อไวรัส พบได้บ่อยในทารกและเด็กเล็ก ทำให้มีอาการไข้ เป็นแผลในป...
ดูรายละเอียด
ออกกำลังกายทุกวัน ก็เสี่ยงหัวใจวายได้
ออกกำลังกายทุกวัน ก็เสี่ยงหัวใจวายได้

การออกกำลังกายทำให้ระดับความดันโลหิต ไขมัน, น้ำตาลในเลือด และ น้ำหนักลดลง ส่งผลให้ลดความเสี่ยงในการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ แต่ทำไมยังมีข่าวว่า คนทั่วไปหรือแ...
ดูรายละเอียด

ปวดท้องตรงนี้ ป่วยตรงไหน
ปวดท้องตรงนี้ ป่วยตรงไหน
ถ้าคุณมีอาการปวดท้องจุดเดิมบ่อยๆ นั่นอาจเป็นสัญญาณที่บอกได้ว่ามีความผิดปกติบางอย่างของอวัยวะในช่องท้อง

ดังนั้น ต้องหมั่นสั...
ดูรายละเอียด

วัคซีนไข้หวัดใหญ่ จำเป็นแค่ไหน ทำไมต้องฉีดทุกปี
วัคซีนไข้หวัดใหญ่ จำเป็นแค่ไหน ทำไมต้องฉีดทุกปี
วัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่ 4 สายพันธุ์ เพราะเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่จะมีการเปลี่ยนแปลงสายพันธุ์อยู่เรื่อยๆ ในการผลิตวัคซีนแต่ละปี จึงต้องมีการเปลี่ยนแปลงสายพันธุ์...
ดูรายละเอียด
โรคฝีดาษลิง (Monkeypox)
โรคฝีดาษลิง (Monkeypox)
โรคฝีดาษลิง (Monkeypox)

ถูกค้นพบครั้งแรกเมื่อปีค.ศ. 1958 ช่วงการระบาดของโรคที่คล้ายไข้ทรพิษหรือ ฝีดาษ โดยพบในบริเวณที่เลี้ยงลิงไว้เพื่อการวิจัย ต...
ดูรายละเอียด

ความดันโลหิตสูง บั่นทอนสุขภาพโดยไม่รู้ตัว
ความดันโลหิตสูง บั่นทอนสุขภาพโดยไม่รู้ตัว
ความดันโลหิตสูง บั่นทอนสุขภาพโดยไม่รู้ตัว

ภาวะความดันโลหิตสูง (Hypertension) คือ การมีความดันโลหิตค่าบนสูงเกินกว่า 140 มม.ปรอท คือ ค่าล่างสูงกว่า 90 มม.ปรอท...
ดูรายละเอียด