ออกกำลังกายทุกวัน ก็เสี่ยงหัวใจวายได้

การออกกำลังกายทำให้ระดับความดันโลหิต ไขมัน, น้ำตาลในเลือด และ น้ำหนักลดลง ส่งผลให้ลดความเสี่ยงในการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ แต่ทำไมยังมีข่าวว่า คนทั่วไปหรือแม้กระทั่งนักกีฬาที่ออกกำลังกายสม่ำเสมอ ยังเป็นโรคหัวใจหรือแม้กระทั่งมีการเสียชีวิตเฉียบพลัน?

สาเหตุของการเสียชีวิต...!!!

   จากข้อมูลพบว่า การเสียชีวิตเฉียบพลันในนักกีฬา พบได้น้อยในอเมริกา พบแค่เพียง 1 ใน 100,000 รายต่อปี แต่จะพบมากขึ้นในกลุ่มนักกีฬาที่มีอายุมาก สาเหตุของการเสียชีวิตเฉียบพลันนั้นขึ้นอยู่กับอายุของนักกีฬา

  • กลุ่มอายุน้อยกว่า 35 ปี ส่วนมากเป็นจากโรคกล้ามเนื้อหัวใจหนาผิดปกติ, หลอดเลือดหัวใจผิดปกติตั้งแต่กำเนิด หรือ หัวใจเต้นผิดจังหวะชนิดร้ายแรง
  • กลุ่มอายุมากกว่า 35 ปี ส่วนมากมักเป็นจากโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ

   ถึงแม้ว่าการออกกำลังกายจะลดโอกาสในการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ แต่เมื่อมีหลอดเลือดหัวใจตีบแล้ว การออกกำลังกายอย่างหนักจะเพิ่มโอกาสการเกิดภาวะโรคหัวใจเฉียบพลันได้ โดยส่วนมาก ประมาณ 2 ใน 3 มักไม่มีอาการ โดยอาการแรกคือ การเสียชีวิตเฉียบพลัน มีเพียง 1 ใน 3 (หรือน้อยกว่า) จะมีอาการนำอย่างอื่นมาก่อน

เช็คอาการเสี่ยง…หัวใจทำงานผิดปกติ...!!

  • เจ็บแน่นหน้าออกเหมือนมีอะไรหนักๆ มากดทับ
  • จุกแน่นหรือแสบบริเวณลิ้นปี่
  • หายใจสั้น หอบ
  • อาจมีอาการเจ็บร้าวที่บริเวณแขน คอ ไหล่ และกราม
  • เหงื่อออกท่วมตัว
  • คลื่นไส้ หน้ามืด ใจสั่น

เราควรตรวจคัดกรองนักกีฬาก่อนหรือไม่...???

   สมาคมแพทย์โรคหัวใจของสหรัฐอเมริกาแนะนำให้ซักประวัติบางอย่าง ได้แก่ ประวัติเรื่องอาการนำ, ประวัติเกี่ยวกับโรคหัวใจบางอย่างของคนในครอบครัว การเสียชีวิตเฉียบพลัน หรือ การใส่เครื่องกระตุกไฟฟ้าหัวใจและให้ตรวจร่างกาย รวมไปถึงการตรวจอย่างอื่น เช่น การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ การวิ่งสายพานหรือการทำอัลตร้าซาวด์หัวใจ จะแนะนำให้ตรวจเมื่อสงสัยว่าอาจมีโรคหัวใจซ่อนอยู่ เป็นต้น

แพ็กเกจและโปรโมชั่น

โปรแกรมตรวจสุขภาพหัวใจ (Healthy Heart)
4,499

บาท

ดูรายละเอียด
แพ็กเกจตรวจสุขภาพจากอาการโควิด ในระยะยาว (Long Covid Checkup)
990

บาท

ดูรายละเอียด
แพ็กเกจตรวจสุขภาพหัวใจและหลอดเลือด
6,999

บาท

ดูรายละเอียด
รวมฮิตแพ็กเกจวัคซีนป้องกันโรค
700

บาท

ดูรายละเอียด

บทความเพื่อสุขภาพ

 รู้จัก RSV ภัยเงียบที่มาคู่กับหน้าฝน ของผู้ใหญ่
รู้จัก RSV ภัยเงียบที่มาคู่กับหน้าฝน ของผู้ใหญ่
 รู้จัก RSV ภัยเงียบที่มาคู่กับหน้าฝน ของผู้ใหญ่

ในยุคที่โรคระบาดเกิดขึ้นบ่อยครั้ง การตระหนักถึงสุขภาพเป็นสิ่งสำคัญมาก โดยเฉพาะโรคร้ายแรงบางโรคมั...
ดูรายละเอียด

ไขมันมันในเลือดสูงทำคุณเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด
ไขมันมันในเลือดสูงทำคุณเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด

 

เลือกอ่าน หัวข้อที่สนใจ • บทนำภาวะไขมันในเลือดสูงและความเสี่ยงของโรค...

ดูรายละเอียด
ความดันโลหิตสูง เสี่ยงโรคอะไรบ้าง
ความดันโลหิตสูง เสี่ยงโรคอะไรบ้าง
ความดันโลหิตสูง เสี่ยงโรคอะไรบ้าง

รู้จักโรคความดันโลหิตสูง

โรคความดันโลหิตสูง (Hypertension) เป็นภาวะที่ความดันโลหิตในหลอดเลือดสูงเกินระดับป...
ดูรายละเอียด

อัลตร้าซาวด์ช่องท้องบอกอะไรเราได้บ้าง
อัลตร้าซาวด์ช่องท้องบอกอะไรเราได้บ้าง
อัลตร้าซาวด์ช่องท้อง 1 ที ตรวจดูอวัยวะในร่างกายได้เป็น 10 แล้วอัลตร้าซาวด์ช่องท้องนี้บอกโรคอะไรเราได้บ้าง

อัลตร้าซา...
ดูรายละเอียด

นอนกรนอันตรายกว่าที่คิด
นอนกรนอันตรายกว่าที่คิด
ปัญหานอนกรน อาจมีอะไรซ่อนอยู่ ตรวจดูให้รู้ด้วย Sleep Test   นอนกรนเกิดจากอะไร?

การนอนกรน เกิดจากทางเดินหายใจส่วนบนถูกอุดกั้น โดยในขณะที่เราน...
ดูรายละเอียด

มะเร็งชนิดไหนผู้ชายเสี่ยงเป็นมากกว่า
มะเร็งชนิดไหนผู้ชายเสี่ยงเป็นมากกว่า
โรคมะเร็งร้ายแรง ที่ผู้ชายเสี่ยงที่สุด 3 อันดับ        โรคมะเร็ง ถือเป็นโรคยอดฮิตมีอัตราการเสียชีวิตสูง และยังเป็นโรคที่ไม่ว่าใครก็...
ดูรายละเอียด
เปิดสถิติโรคมะเร็งในผู้หญิงและผู้ชายไทย ใครเสี่ยงมากกว่า มะเร็งอะไรพบมากที่สุด
เปิดสถิติโรคมะเร็งในผู้หญิงและผู้ชายไทย ใครเสี่ยงมากกว่า มะเร็งอะไรพบมากที่สุด

โรคมะเร็ง เป็นอีกหนึ่งโรคร้ายที่คร่าชีวิตคนไทยมาแล้วหลายชีวิต และยังมีอัตราการเกิดโรคที่สูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง เรามาสรุปข้อมูลสถิติ จาก สถาบันมะเร็งแห่งช...
ดูรายละเอียด

ออกกำลังกายแค่ไหน Heart Rate Zone เท่าไหร่ ดีกับร่างกายคุณ
ออกกำลังกายแค่ไหน Heart Rate Zone เท่าไหร่ ดีกับร่างกายคุณ
Heart Rate Zone กับการออกกำลังกาย

Heart rate zone หรืออัตราการเต้นของหัวใจ ...
ดูรายละเอียด

หน้าฝนต้องระวัง โรคไข้ดิน
หน้าฝนต้องระวัง โรคไข้ดิน

 

โรคไข้ดิน หรือโรคเมลิออยด์ (Melioidosis) พบมากในฤดูฝนเป็นโรคติดเชื้อแบคทีเรียที่อยู่ในดินและน้ำสามารถพบได้ทั่วประเทศไทย ความรุ...
ดูรายละเอียด

โรคไหนบ้างที่พบได้จากการตรวจ Ultrasound
โรคไหนบ้างที่พบได้จากการตรวจ Ultrasound

ตรวจอัลตร้าชาวด์เช็คความผิดปกติ

การอัลตร้าซาวด์ (Ultrasound หรือ Ultrasound scanning) คือการตรวจวินิจฉัยโรคโดยการใช้คลื่นเสียงกำลังสูงสะท้อนให้เก...
ดูรายละเอียด

ไทยเจอแล้ว! โควิดสายพันธุ์ย่อย “BA.2.75”
ไทยเจอแล้ว! โควิดสายพันธุ์ย่อย “BA.2.75”
ไทยพบผู้ติดเชื้อโควิด-19 โอมิครอนสายพันธุ์ย่อย BA.2.75 คนแรกที่ จ.ตรัง แพทย์ระบุเชื้อรุนแรงกว่าสายพันธุ์ BA.5

ศูนย์จีโนมทางการแพทย์ โรงพยาบาลรามาธิ...
ดูรายละเอียด

ปวดท้องแบบไหน เสี่ยงนิ่วในถุงน้ำดี
ปวดท้องแบบไหน เสี่ยงนิ่วในถุงน้ำดี
ปวดท้องแบบไหนเสี่ยงนิ่วในถุงน้ำดี

อาการที่สามารถสังเกตได้นั้นไม่ได้มีเพียงการปวดท้องเพียงอย่างเดียว โดยอาการจะมีผลกับระบบทางเดินอาหาร เนื่องจากเกิดการอุดตัน...
ดูรายละเอียด

สารต้านอนุมูลอิสระ คืออะไร
สารต้านอนุมูลอิสระ คืออะไร
สารต้านอนุมูลอิสระกับระบบภูมิคุ้มกัน

​“สารต้านอนุมูลอิสระ” หลายคนน่าจะเคยได้ยินคำนี้กันมาบ้าง โดยเฉพาะสายคลีน สายออกกำลังกายจะรู้ดี หรือภาษ...
ดูรายละเอียด

โควิดไม่ลงปอด แต่ทำไมหายแล้วยังรู้สึกเหนื่อย
โควิดไม่ลงปอด แต่ทำไมหายแล้วยังรู้สึกเหนื่อย
รู้จักภาวะ ‘ลองโควิด’ (LONG COVID)

‘ลองโควิด’ (LONG COVID) หรือเรียกได้อีกอย่างว่า POST-COVID SYNDROME อาจมีอาการคล้ายๆ เดิมที่เคยเป...
ดูรายละเอียด

เพราะหัวใจ ต้องการคนดูแล
เพราะหัวใจ ต้องการคนดูแล
เพราะหัวใจ ต้องการคนดูแล

ลองมาสำรวจตัวเองกันสักหน่อยว่า คุณทำสิ่งเหล่านี้บ้างหรือไม่

1.เครียดจากการทำงาน หรือการใช้ชีวิต 2.นอนไม่หลับ หลับไ...

ดูรายละเอียด
ตื่นมาปัสสาวะบ่อยกลางคืน ร่างกายกำลังบอกอะไร?
ตื่นมาปัสสาวะบ่อยกลางคืน ร่างกายกำลังบอกอะไร?
กลางคืนตื่นมาปัสสาวะบ่อย ร่างกายกำลังบอกอะไร?

มะเร็งต่อมลูกหมาก ถูกจัดให้เป็นมะเร็งที่พบบ่อยเป็นอันดับต้นๆ ในผู้ชายไทย และยังคงมีแนวโน้มเพิ...
ดูรายละเอียด

Long Covid คืออะไร ทำไมถึงทำให้ร่างกายแย่ลง
Long Covid คืออะไร ทำไมถึงทำให้ร่างกายแย่ลง
Long Covid คืออะไร ทำไมถึงทำให้ร่างกายแย่ลง

โควิด-19 เป็นโรคติดเชื้อจากไวรัส SARS-CoV-2 ที่มีการระบาดกระจายเป็นวงกว้างตั้งแต่ปี&nb...
ดูรายละเอียด

ภาวะหัวใจสลาย
ภาวะหัวใจสลาย
ภาวะหัวใจสลาย (Broken heart syndrome)

มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า Stress-induced Cardiomyopathy, Takotsubo Cardiomyopathy หรือ Apical ballooning syndrome...
ดูรายละเอียด

ทำไมโควิด-19ในเด็ก ถึงต้องการการดูแลที่มากกว่า
ทำไมโควิด-19ในเด็ก ถึงต้องการการดูแลที่มากกว่า
ทำไมโควิด-19ในเด็ก ถึงต้องการการดูแลที่มากกว่า COVID-19 คืออะไร?

COVID-19 คือเชื้อไวรัสทางเดินหายใจ มักเกิดที่ระบบทางเดินหายใจส่วนล่าง ทำให้เกิดอาการหลอด...
ดูรายละเอียด

ไขคำตอบ! ทำไมไม่จ่าย ยาฟาวิพิราเวียร์ ให้กับผู้ป่วยโควิดทุกคน
ไขคำตอบ! ทำไมไม่จ่าย ยาฟาวิพิราเวียร์ ให้กับผู้ป่วยโควิดทุกคน
ไขคำตอบ! ไม่จ่าย "ยาฟาวิพิราเวียร์" ให้กับผู้ป่วยโควิดทุกคน

กรมการแพทย์ ไขคำตอบเหตุผลไม่จ่ายยาฟาวิพิราเวียร์ ให้ก...
ดูรายละเอียด

อาการโควิดแบบไหน ให้เราดูแล
อาการโควิดแบบไหน ให้เราดูแล
อาการแบบไหน..ให้เราดูแล

2 กลุ่มอาการกับการให้การรักษา Covid-19 กับ โรงพยาบาลวัฒนแพทย์ ตรัง ด้วยสิทธิ์ สปสช.จากทางภาครัฐ มีดังนี้

 1.กลุ่มผู้ป่...

ดูรายละเอียด
การตรวจหานิ่วในถุงน้ำดี
การตรวจหานิ่วในถุงน้ำดี
นิ่วในถุงน้ำดี (Gallstone)  

เป็นโรคในระบบทางเดินน้ำดีที่พบได้บ่อย โดยนิ่วเกิดจากการตกตะกอนของหินปูนหรือคอเลสเตอรอลในน้ำดี อุบัติการ...
ดูรายละเอียด

การส่องกล้องกระเพาะอาหาร
การส่องกล้องกระเพาะอาหาร

 

...

ดูรายละเอียด