โปรแกรมตรวจวัดมวลกระดูก

"ภาวะกระดูกพรุน" ตรวจได้ตรวจโปรแกรมตรวจมวลกระดูก


ภาวะกระดูกพรุน คืออะไร ทำไมต้องตรวจ

อาการของโรคกระดูกพรุนนี้มักค่อยๆ เกิดขึ้นโดยที่เราไม่ทันได้สังเกตเห็น เช่น รู้สึกปวดเอว หลัง ข้อมือ หรือการเปลี่ยนแปลงทางรูปร่างเช่น หลังโก่ง ไหล่งุ้ม หรือเตี้ยลง เป็นต้น และจะพบว่ากระดูกเปราะ กระดูกหักได้ง่าย โดยบริเวณที่พบกระดูกหักจากภาวะกระดูกพรุนได้บ่อย ได้แก่ บริเวณกระดูกข้อมือ กระดูกหลัง และกระดูกสะโพก ซึ่งการหักของกระดูก โดยเฉพาะอย่างยิ่งบริเวณกระดูกสะโพกในคนที่มีภาวะกระดูกพรุนนั้น เป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดความพิการ วิธีการที่ดีที่สุดที่จะรู้ได้ว่า คุณกำลังเสี่ยงต่อภาวะกระดูกพรุนหรือไม่ และมากน้อยเพียงใด คือ “การตรวจมวลกระดูก หรือการตรวจดูความหนาแน่นของกระดูก (Bone Densitometry)”


ใครบ้างควรตรวจวัดความหนาแน่นของกระดูก

การส่งตรวจวัดความหนาแน่นของกระดูก (Bone Densitometry) ได้ประโยชน์และคุ้มค่าในกลุ่มนี้

  1. ผู้หญิงที่มีอายุมากกว่า 65 ปี และผู้ชายที่มีอายุตั้งแต่ 70 ปีขึ้นไป
  2. ผู้หญิงที่หมดประจำเดือนเร็วกว่าอายุ 45 ปี (early menopause) รวมถึงผู้ที่ถูกตัดรังไข่ทั้งสองข้าง
  3. ผู้ที่มีฮอร์โมนเอสโตรเจนอยู่ในระดับต่ำต่อเนื่องนานกว่า 1 ปี ก่อนวัยหมดประจำเดือน เช่น เจ็บป่วยเรื้อรัง intensive exercise เป็นต้น ยกเว้นการตั้งครรภ์และให้นมบุตร
  4. ผู้ที่ได้รับยา Steroid เป็นเวลานาน (prednisolone มากกว่าหรือเท่ากับ 7.5 mg/day หรือเทียบเท่า นานกว่า 3 เดือน)
  5. บิดาหรือมารดามีกระดูกสะโพกหัก
  6. ผู้หญิงวัยหมดประจำเดือนที่ส่วนสูงลดลง มากกว่าหรือเท่ากับ 4 cm.
  7. ผู้หญิงวัยหมดประจำเดือนที่ BMI น้อยกว่า 20 kg/m2
  8. ตรวจพบกระดูกบาง หรือ กระดูกสันหลังผิดรูปจาก X-ray
  9. มีประวัติกระดูกหักจากอุบัติเหตุที่ไม่รุนแรง
  10. สูบบุหรี่ ดื่มกาแฟมากกว่า 4 แก้วต่อวัน ดื่มน้าอัดลมมากกว่า 1 ลิตรต่อวัน
  11. บุคคลที่มีโรคหรือภาวะที่ทำให้มวลกระดูกลดลง เช่น ไตวาย เบาหวาน โรคข้ออักเสบ รูมาตอยด์ ภาวะต่อมพาราไทรอยด์ทางานมากเกินไป พิษสุราเรื้อรัง ธาลัสซีเมีย โรคมะเร็ง เป็นต้น

แพ็กเกจและโปรโมชั่น

บัตรสมาชิก WATTANAPAT THE EXCLUSIVE
5,000

บาท

ดูรายละเอียด
แพ็กเกจตรวจสุขภาพจากอาการโควิด ในระยะยาว (Long Covid Checkup)
990

บาท

ดูรายละเอียด
แพ็กเกจผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียม
198,000

บาท

ดูรายละเอียด
แพ็กเกจฉีดน้ำหล่อเลี้ยงข้อเข่า เพื่อรักษาข้อเข่าเสื่อม
25,000

บาท

ดูรายละเอียด
รวมฮิตแพ็กเกจวัคซีนป้องกันโรค
700

บาท

ดูรายละเอียด
โปรแกรมตรวจสุขภาพประจำปี Annual Check-Up
2,299

บาท

ดูรายละเอียด
ฉีดเกล็ดเลือดเข้มข้น (PRP) รักษาอาการข้อเข่าเสื่อม
7,900

บาท

ดูรายละเอียด
การบำบัดด้วยออกซิเจนความดันสูง (HBOT)
2,500

บาท

ดูรายละเอียด

บทความเพื่อสุขภาพ

ตรวจ CEA เพื่อหาสารบ่งชี้มะเร็งจากเลือด
ตรวจ CEA เพื่อหาสารบ่งชี้มะเร็งจากเลือด
ตรวจ CEA เพื่อหาสารบ่งชี้มะเร็งจากเลือด การตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็ง คืออะไร

การตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็ง เป็นการตรวจหาสารที่ผลิตจากเซลล์มะเร็ง โดยใช้วิ...
ดูรายละเอียด

BIRTHDAY PACKAGE ตรวจแล้วรู้อะไรบ้างนะ มาดูกัน
BIRTHDAY PACKAGE ตรวจแล้วรู้อะไรบ้างนะ มาดูกัน

ในปัจจุบันไลฟ์สไตล์คนรุ่นใหม่มักมีพฤติกรรมที่ทำให้สุขภาพแย่ลง เช่น นอนดึก สูบบุหรี่ ดื่มแอลกอฮอล์ ทานอาหารรสจัดหรือปิ้งย่างบ่อยๆ ยิ่งเพิ่มความเสี่ยงในการเกิด...
ดูรายละเอียด

5 อาหารเจที่อาจเสี่ยงทำลายสุขภาพมากกว่าที่คาดคิด
5 อาหารเจที่อาจเสี่ยงทำลายสุขภาพมากกว่าที่คาดคิด
5 อาหารเจที่อาจเสี่ยงทำลายสุขภาพมากกว่าที่คาดคิด

แม้ว่าการเลือกบริโภคอาหารเจจะเป็นทางเลือกที่หลายคนมองว่าเป็นแนวทางในการรักษาสุขภาพ ด้วยการหลีกเลี่ยงการบริโ...
ดูรายละเอียด

 รู้จัก RSV ภัยเงียบที่มาคู่กับหน้าฝน ของผู้ใหญ่
รู้จัก RSV ภัยเงียบที่มาคู่กับหน้าฝน ของผู้ใหญ่
 รู้จัก RSV ภัยเงียบที่มาคู่กับหน้าฝน ของผู้ใหญ่

ในยุคที่โรคระบาดเกิดขึ้นบ่อยครั้ง การตระหนักถึงสุขภาพเป็นสิ่งสำคัญมาก โดยเฉพาะโรคร้ายแรงบางโรคมั...
ดูรายละเอียด

ไขมันมันในเลือดสูงทำคุณเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด
ไขมันมันในเลือดสูงทำคุณเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด

 

เลือกอ่าน หัวข้อที่สนใจ • บทนำภาวะไขมันในเลือดสูงและความเสี่ยงของโรค...

ดูรายละเอียด
ความดันโลหิตสูง เสี่ยงโรคอะไรบ้าง
ความดันโลหิตสูง เสี่ยงโรคอะไรบ้าง
ความดันโลหิตสูง เสี่ยงโรคอะไรบ้าง

รู้จักโรคความดันโลหิตสูง

โรคความดันโลหิตสูง (Hypertension) เป็นภาวะที่ความดันโลหิตในหลอดเลือดสูงเกินระดับป...
ดูรายละเอียด

เสริมภูมิคุ้มกันเพื่อผู้ใหญ่และผู้สูงวัย ด้วยวัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่ และปอดอักเสบ (IPD)
เสริมภูมิคุ้มกันเพื่อผู้ใหญ่และผู้สูงวัย ด้วยวัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่ และปอดอักเสบ (IPD)
สูงวัยอุ่นใจ วัคซีนไข้หวัดใหญ่และวัคซีนป้องกันปอดอักเสบช่วยได้

การฉีดวัคซีนเพื่อเสริมภูมิคุ้มกันเราอาจจะมองว่าเป็นเรื่องสำหรับเด็ก แต่จริงๆ แล้...
ดูรายละเอียด

รักษาข้อเข่าเสื่อม ไม่ต้องผ่าตัดด้วยการฉีดเกล็ดเลือดเข้มข้น PRP
รักษาข้อเข่าเสื่อม ไม่ต้องผ่าตัดด้วยการฉีดเกล็ดเลือดเข้มข้น PRP
ปวดเข่าเพราะข้อเข่าเสื่อม

หากคุณมีปัญหาเกี่ยวกับข้อเข่าเสื่อม เจ็บบริเวณข้อเข่า ปวดเข่า อาการเหล่านี้เป็นปัญหาส่งผลต่อการทำกิจวัตรประจำวันเป็นอย่างมาก โ...
ดูรายละเอียด

ทำไมผู้สูงวัย จึงควรได้รับวัคซีนไข้หวัดใหญ่แบบ High Dose
ทำไมผู้สูงวัย จึงควรได้รับวัคซีนไข้หวัดใหญ่แบบ High Dose

วัคซีนไข้หวัดใหญ่ สำหรับผู้สูงอายุ

เพราะผู้สูงวัยนับเป็นกลุ่มเสี่ยงที่จะได้รับอันตรายจากโรคไข้หวัดใหญ่สูงกว่าคนวัยหนุ่มสาว โดยจากสถิติพบว่า ผู้สู...
ดูรายละเอียด

อัลตร้าซาวด์ช่องท้องบอกอะไรเราได้บ้าง
อัลตร้าซาวด์ช่องท้องบอกอะไรเราได้บ้าง
อัลตร้าซาวด์ช่องท้อง 1 ที ตรวจดูอวัยวะในร่างกายได้เป็น 10 แล้วอัลตร้าซาวด์ช่องท้องนี้บอกโรคอะไรเราได้บ้าง

อัลตร้าซา...
ดูรายละเอียด

ผ่าตัดส่องกล้องรักษาหมอนรองกระดูกข้อเข่า แผลเล็ก ฟื้นตัวเร็ว
ผ่าตัดส่องกล้องรักษาหมอนรองกระดูกข้อเข่า แผลเล็ก ฟื้นตัวเร็ว
ผ่าตัดผ่านกล้องเย็บซ่อมหมอนรองกระดูกเข่า

หมอนรองกระดูกเข่าเป็นอวัยวะสำคัญในการรองรับแรงกระแทก การผ่าตัดผ่านกล้องเพื่อเย็บซ่อมหมอนรองกระดูกเข่าในกรณีที่มีการ...
ดูรายละเอียด

นอนกรนอันตรายกว่าที่คิด
นอนกรนอันตรายกว่าที่คิด
ปัญหานอนกรน อาจมีอะไรซ่อนอยู่ ตรวจดูให้รู้ด้วย Sleep Test   นอนกรนเกิดจากอะไร?

การนอนกรน เกิดจากทางเดินหายใจส่วนบนถูกอุดกั้น โดยในขณะที่เราน...
ดูรายละเอียด

สัญญาณไม่มีเสียงเตือน ของโรคที่พบบ่อยในผู้สูงวัย
สัญญาณไม่มีเสียงเตือน ของโรคที่พบบ่อยในผู้สูงวัย
สัญญาณเตือนที่ผู้สูงอายุควรตรวจสุขภาพ

ระบบต่างๆ ในร่างกายผู้สูงอายุมีการเปลี่ยนแปลงตามอายุที่เพิ่มขึ้น ทำให้อาการแสดงของโรคหรือปัญหาสุขภาพหลายๆ อย่างไม่...
ดูรายละเอียด

มะเร็งชนิดไหนผู้ชายเสี่ยงเป็นมากกว่า
มะเร็งชนิดไหนผู้ชายเสี่ยงเป็นมากกว่า
โรคมะเร็งร้ายแรง ที่ผู้ชายเสี่ยงที่สุด 3 อันดับ        โรคมะเร็ง ถือเป็นโรคยอดฮิตมีอัตราการเสียชีวิตสูง และยังเป็นโรคที่ไม่ว่าใครก็...
ดูรายละเอียด
เปิดสถิติโรคมะเร็งในผู้หญิงและผู้ชายไทย ใครเสี่ยงมากกว่า มะเร็งอะไรพบมากที่สุด
เปิดสถิติโรคมะเร็งในผู้หญิงและผู้ชายไทย ใครเสี่ยงมากกว่า มะเร็งอะไรพบมากที่สุด

โรคมะเร็ง เป็นอีกหนึ่งโรคร้ายที่คร่าชีวิตคนไทยมาแล้วหลายชีวิต และยังมีอัตราการเกิดโรคที่สูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง เรามาสรุปข้อมูลสถิติ จาก สถาบันมะเร็งแห่งช...
ดูรายละเอียด

วัคซีนไข้หวัดใหญ่ ฉีดไว้กันอะไรได้บ้าง
วัคซีนไข้หวัดใหญ่ ฉีดไว้กันอะไรได้บ้าง
วัคซีนไข้หวัดใหญ่สำคัญยังไง แล้วทำไมเราถึงควรฉีด

โรคไข้หวัดใหญ่เกิดจากเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ (Influenza Virus) ซึ่งมีอยู่ 3 สายพันธุ์ คือ A , B และ...

ดูรายละเอียด
เลือกแพ็กเกจตรวจสุขภาพยังไง ให้ใช่สำหรับคุณ
เลือกแพ็กเกจตรวจสุขภาพยังไง ให้ใช่สำหรับคุณ
เทคนิคการเลือกแพ็กเกจตรวจสุขภาพ...ที่ใช่สำหรับคุณ

ปัญหาเรื่องสุขภาพอาจเกิดขึ้นได้ตลอดเวลา การตรวจสุขภาพอย่างสม่ำเสมอจะเป็นการช่วยหาสาเหตุของโรคหรือควา...
ดูรายละเอียด

หน้าฝนต้องระวัง โรคไข้ดิน
หน้าฝนต้องระวัง โรคไข้ดิน

 

โรคไข้ดิน หรือโรคเมลิออยด์ (Melioidosis) พบมากในฤดูฝนเป็นโรคติดเชื้อแบคทีเรียที่อยู่ในดินและน้ำสามารถพบได้ทั่วประเทศไทย ความรุ...
ดูรายละเอียด

ข้อเข่าเสื่อม โรคที่มาตามวัยชะลอยังไง
ข้อเข่าเสื่อม โรคที่มาตามวัยชะลอยังไง

 

คำถามนี้..มีคำตอบ  ข้อเข่าเสื่อม โรคที่มาตามวัย ชะลอยังไงดี?

ข้อเข่า เป็นข้อรับน้ำหนักที่ใหญ่ที่สุดของร่างกาย ข้อเข่าที่ปกติ แล...
ดูรายละเอียด

ทำไมต้องตรวจสุขภาพประจำปี
ทำไมต้องตรวจสุขภาพประจำปี

ตรวจสุขภาพ สำคัญกว่าที่คิด

ด้วยมลพิษมากมายในปัจจุบัน ส่งผลให้สุขภาพของคนเราย่ำแย่ตามไปด้วย หลายคนมองข้ามความสำคัญของการตรวจสุขภาพ เพราะเห็นว่าร่า...
ดูรายละเอียด

โรคไหนบ้างที่พบได้จากการตรวจ Ultrasound
โรคไหนบ้างที่พบได้จากการตรวจ Ultrasound

ตรวจอัลตร้าชาวด์เช็คความผิดปกติ

การอัลตร้าซาวด์ (Ultrasound หรือ Ultrasound scanning) คือการตรวจวินิจฉัยโรคโดยการใช้คลื่นเสียงกำลังสูงสะท้อนให้เก...
ดูรายละเอียด

ปวดหลังปวดคอขนาดไหน ถึงต้องทำ MRI
ปวดหลังปวดคอขนาดไหน ถึงต้องทำ MRI

ปวดหลังปวดคอขนาดไหน ถึงต้องทำ MRI

สำหรับคนที่มีอาการปวดหลังเรื้อรัง ไม่หายสักที แม้ว่าจะเปลี่ยนอิริยาบถ เปลี่ยนพฤติกรรมการนั่ง การยกของหนัก ๆ หรือ...

ดูรายละเอียด
ไทยเจอแล้ว! โควิดสายพันธุ์ย่อย “BA.2.75”
ไทยเจอแล้ว! โควิดสายพันธุ์ย่อย “BA.2.75”
ไทยพบผู้ติดเชื้อโควิด-19 โอมิครอนสายพันธุ์ย่อย BA.2.75 คนแรกที่ จ.ตรัง แพทย์ระบุเชื้อรุนแรงกว่าสายพันธุ์ BA.5

ศูนย์จีโนมทางการแพทย์ โรงพยาบาลรามาธิ...
ดูรายละเอียด

ปวดท้องแบบไหน เสี่ยงนิ่วในถุงน้ำดี
ปวดท้องแบบไหน เสี่ยงนิ่วในถุงน้ำดี
ปวดท้องแบบไหนเสี่ยงนิ่วในถุงน้ำดี

อาการที่สามารถสังเกตได้นั้นไม่ได้มีเพียงการปวดท้องเพียงอย่างเดียว โดยอาการจะมีผลกับระบบทางเดินอาหาร เนื่องจากเกิดการอุดตัน...
ดูรายละเอียด

ข้อเข่าเสื่อม รักษาได้ โดยไม่ต้องผ่าตัด
ข้อเข่าเสื่อม รักษาได้ โดยไม่ต้องผ่าตัด
ข้อเข่าเสื่อม รักษาได้ โดยไม่ต้องผ่าตัด

โรคข้อเข่าเสื่อมเป็นโรคที่พบได้เป็นปกติในผู้สูงอายุ เพราะเป็นโรคที่เกิดขึ้นจากการเสื่อมสภาพของร่างกายตามการใช้งานและ...
ดูรายละเอียด

โควิดไม่ลงปอด แต่ทำไมหายแล้วยังรู้สึกเหนื่อย
โควิดไม่ลงปอด แต่ทำไมหายแล้วยังรู้สึกเหนื่อย
รู้จักภาวะ ‘ลองโควิด’ (LONG COVID)

‘ลองโควิด’ (LONG COVID) หรือเรียกได้อีกอย่างว่า POST-COVID SYNDROME อาจมีอาการคล้ายๆ เดิมที่เคยเป...
ดูรายละเอียด

ตื่นมาปัสสาวะบ่อยกลางคืน ร่างกายกำลังบอกอะไร?
ตื่นมาปัสสาวะบ่อยกลางคืน ร่างกายกำลังบอกอะไร?
กลางคืนตื่นมาปัสสาวะบ่อย ร่างกายกำลังบอกอะไร?

มะเร็งต่อมลูกหมาก ถูกจัดให้เป็นมะเร็งที่พบบ่อยเป็นอันดับต้นๆ ในผู้ชายไทย และยังคงมีแนวโน้มเพิ...
ดูรายละเอียด

Long Covid คืออะไร ทำไมถึงทำให้ร่างกายแย่ลง
Long Covid คืออะไร ทำไมถึงทำให้ร่างกายแย่ลง
Long Covid คืออะไร ทำไมถึงทำให้ร่างกายแย่ลง

โควิด-19 เป็นโรคติดเชื้อจากไวรัส SARS-CoV-2 ที่มีการระบาดกระจายเป็นวงกว้างตั้งแต่ปี&nb...
ดูรายละเอียด

ทำไมโควิด-19ในเด็ก ถึงต้องการการดูแลที่มากกว่า
ทำไมโควิด-19ในเด็ก ถึงต้องการการดูแลที่มากกว่า
ทำไมโควิด-19ในเด็ก ถึงต้องการการดูแลที่มากกว่า COVID-19 คืออะไร?

COVID-19 คือเชื้อไวรัสทางเดินหายใจ มักเกิดที่ระบบทางเดินหายใจส่วนล่าง ทำให้เกิดอาการหลอด...
ดูรายละเอียด

ไขคำตอบ! ทำไมไม่จ่าย ยาฟาวิพิราเวียร์ ให้กับผู้ป่วยโควิดทุกคน
ไขคำตอบ! ทำไมไม่จ่าย ยาฟาวิพิราเวียร์ ให้กับผู้ป่วยโควิดทุกคน
ไขคำตอบ! ไม่จ่าย "ยาฟาวิพิราเวียร์" ให้กับผู้ป่วยโควิดทุกคน

กรมการแพทย์ ไขคำตอบเหตุผลไม่จ่ายยาฟาวิพิราเวียร์ ให้ก...
ดูรายละเอียด

อาการโควิดแบบไหน ให้เราดูแล
อาการโควิดแบบไหน ให้เราดูแล
อาการแบบไหน..ให้เราดูแล

2 กลุ่มอาการกับการให้การรักษา Covid-19 กับ โรงพยาบาลวัฒนแพทย์ ตรัง ด้วยสิทธิ์ สปสช.จากทางภาครัฐ มีดังนี้

 1.กลุ่มผู้ป่...

ดูรายละเอียด
การตรวจหานิ่วในถุงน้ำดี
การตรวจหานิ่วในถุงน้ำดี
นิ่วในถุงน้ำดี (Gallstone)  

เป็นโรคในระบบทางเดินน้ำดีที่พบได้บ่อย โดยนิ่วเกิดจากการตกตะกอนของหินปูนหรือคอเลสเตอรอลในน้ำดี อุบัติการ...
ดูรายละเอียด

การส่องกล้องกระเพาะอาหาร
การส่องกล้องกระเพาะอาหาร

 

...

ดูรายละเอียด