ตรวจมะเร็งเต้านมด้วยแมมโมแกรม 3 มิติและอัลตร้าซาวด์

การตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม ด้วยแมมโมแกรม 3 มิติและอัลตร้าซาวด์


 ยกระดับการทำดิจิตอลแมมโมแกรมให้เป็นแบบ 3 มิติ (Digital breast tomosynthesis) ใช้เวลาถ่ายภาพเอกซเรย์เพียง 3.7 วินาทีต่อท่า และสามารถแยกก้อนเนื้อออกมาจากการทับซ้อนกันของเนื้อเต้านมได้ โดยเฉพาะในคนไข้ที่มีเนื้อเต้านมที่แน่น (dense breast) ส่งผลให้เห็นก้อนเนื้อหรือหินปูนที่ผิดปกติได้ชัดเจนขึ้นและยังได้ภาพที่ละเอียดมากกว่าเดิม นอกจากนี้ยังสามารถพบมะเร็งเต้านมได้ดีกว่าเครื่องแมมโมแกรม 2 มิติ


 


 สัญญาณเตือนมะเร็งเต้านมที่สามารถสังเกตได้ด้วยตัวเองมีดังนี้

  1. คลำพบก้อนเนื้อบริเวณเต้านมหรือใต้รักแร้
    สามารถทำได้ด้วยตัวเองที่บ้านเป็นประจำ โดยก้อนเนื้อที่พบอาจจะกดเจ็บ หรือไม่เจ็บก็ได้ ผู้หญิงทุกคนควรตรวจเต้านมด้วยตนเองทุกเดือนหลังรอบเดือนหมด ประมาณ 1 สัปดาห์
  2. ขนาดหรือรูปร่างของเต้านมเปลี่ยนไป
    แม้ปกติเต้านมทั้ง 2 ข้างอาจมีขนาดและรูปร่างที่ต่างกันบ้าง แต่การหมั่นสังเกตความเปลี่ยนแปลงของเต้านมข้างใดข้างหนึ่ง หรือทั้งสองข้างมีลักษณะผิดปกติไปจากเดิม จะช่วยให้ผู้ป่วยรู้เท่าทันหากเกิดโรคร้ายตั้งแต่ระยะเริ่มต้น
  3. ผิวหนังที่เต้านมบุ๋มลงไปคล้ายลักยิ้ม
    หรือบวมหนาเหมือนเปลือกส้มรวมถึงสีหรือผิวหนังบริเวณลานหัวนมเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม ควรรีบพบแพทย์เพื่อตรวจวินิจฉัยให้ละเอียด เนื่องจากอาจเป็นอาการของเซลล์มะเร็งที่ลุกลามมาถึงชั้นเนื้อเยื่อใต้ผิวหนัง
  4. มีน้ำเหลืองหรือของเหลวไหลออกมาจากหัวนม
    โดยเฉพาะหากพบว่าน้ำเหลืองหรือของเหลวไหลนั้นมีสีคล้ายเลือด และออกจากหัวนมเพียงรูเดียว ควรรีบพบแพทย์เพื่อทำการตรวจเต้านมโดยละเอียด
  5. อาการเจ็บผิดปกติที่เต้านมหรือผิวหนังของเต้านมอักเสบ
    หากมีอาการเจ็บเต้านมโดยที่ไม่ใช่ช่วงมีประจำเดือน หรือพบว่าผิวหนังรอบๆ เต้านมบวมแดงอักเสบ โดยเฉพาะเมื่อคลำพบก้อนเนื้อร่วมด้วย อย่าละเลยว่าเป็นเรื่องธรรมดาเด็ดขาด
  6. ผื่นคันบริเวณเต้านมรักษาแล้วไม่หายขาด
    ผื่นคันอาจเกิดขึ้นที่หัวนมหรือบริเวณเต้าส่วนใหญ่ เริ่มต้นเป็นเพียงผื่นแดงแสบๆ คันๆ แม้จะรักษาโดยแพทย์ผิวหนังแล้วยังไม่หายขาดจนกลายเป็นแผลตกสะเก็ดแข็ง ควรพบแพทย์เพื่อตรวจวินิจฉัยมะเร็งเต้านมอีกครั้ง เนื่องจากอาจเกิดจากเซลล์มะเร็งลามขึ้นมาที่ผิวหนังด้านบนบริเวณหัวนมหรือเต้านมแล้ว

เครื่องแมมโมแกรม 3 มิติ (3D Tomosynthesis Mammogram)

1.คุณภาพสูง

เพิ่มความแม่นยำ ด้วยคุณภาพของภาพเอกซเรย์ที่มีคุณภาพและความละเอียดสูง คมชัด ทำให้สามารถระบุตำแหน่งที่มีความผิดปกติของเต้านมได้อย่างชัดเจนและมีความแม่นยำในการตรวจวินิจฉัย

2.รังสีน้อยกว่า

แผ่นกดเต้านม ที่โค้งเว้าตามลักษณะของเต้านม จึงช่วยลดแรงกดทับบีบอัดที่เต้านมทำให้รู้สึกสบายขึ้น เจ็บน้อยลงหรือไม่เจ็บเลย พร้อมกันนี้ยังถูกออกแบบและพัฒนาขึ้น เพื่อใช้ประกอบการวินิจฉัยโดยไม่จำเป็นต้องถ่ายภาพเอกซเรย์ผู้รับบริการซ้ำ จึงช่วยลดการกดเต้านมซ้ำและลดจำนวนครั้งในการรับปริมาณรังสีทำให้ผู้รับบริการได้รับปริมาณรังสีที่ต่ำอีกด้วย

3.ใช้เวลาน้อย ภาพมีความคมชัด

ไม่ต้องตรวจซ้ำ ใช้เวลาในการเอกซเรย์น้อยที่สุดเพียง 3.7 วินาที ต่อท่าเท่านั้น ดังนั้น การถ่ายภาพเอกซเรย์เต้านม 1 ครั้งจะมี 4 ท่า รวมใช้เวลาทั้งหมดประมาณ 15 วินาที ( ไม่นับรวมเวลาการจัดท่าของผู้ป่วย ซึ่งขึ้นอยู่กับสรีระของผู้ป่วย )

4.เพิ่มโอกาสในการรักษาได้ทันที

ตรวจพบมะเร็งเต้านมได้มากขึ้นถึง 65% ทำให้แพทย์สามารถวางแผนการรักษาได้ตั้งแต่ระยะเริ่มแรก จึงมีโอกาสรักษาหายขาดได้สูงขึ้น

 


 

แพทย์ที่เกี่ยวข้อง

แพ็กเกจและโปรโมชั่น

บัตรสมาชิก WATTANAPAT THE EXCLUSIVE
5,000

บาท

ดูรายละเอียด
แพ็กเกจตรวจสุขภาพก่อนมีลูก
2,299

บาท

ดูรายละเอียด
แพ็กเกจตรวจสุขภาพก่อนแต่งงาน
1,699

บาท

ดูรายละเอียด
แพ็กเกจตรวจสุขภาพจากอาการโควิด ในระยะยาว (Long Covid Checkup)
990

บาท

ดูรายละเอียด
โปรแกรมฝังเข็มบรรเทาอาการปวด
800

บาท

ดูรายละเอียด
โปรแกรมตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก (Cervical Cancer Risk Screening)
1,200

บาท

ดูรายละเอียด
รวมฮิตแพ็กเกจวัคซีนป้องกันโรค
700

บาท

ดูรายละเอียด
กระชับช่องคลอด ฟื้นฟูจุดซ่อนเร้น Thermiva Vaginal Rejuvenation
   
ดูรายละเอียด
โปรแกรมตรวจสุขภาพประจำปี Annual Check-Up
2,299

บาท

ดูรายละเอียด
การบำบัดด้วยออกซิเจนความดันสูง (HBOT)
2,500

บาท

ดูรายละเอียด

บทความเพื่อสุขภาพ

5 อาหารเจที่อาจเสี่ยงทำลายสุขภาพมากกว่าที่คาดคิด
5 อาหารเจที่อาจเสี่ยงทำลายสุขภาพมากกว่าที่คาดคิด
5 อาหารเจที่อาจเสี่ยงทำลายสุขภาพมากกว่าที่คาดคิด

แม้ว่าการเลือกบริโภคอาหารเจจะเป็นทางเลือกที่หลายคนมองว่าเป็นแนวทางในการรักษาสุขภาพ ด้วยการหลีกเลี่ยงการบริโ...
ดูรายละเอียด

การผ่าตัดส่องกล้อง ดีกว่ายังไง ทำได้ทุกหัตถการมั้ย
การผ่าตัดส่องกล้อง ดีกว่ายังไง ทำได้ทุกหัตถการมั้ย

การผ่าตัดส่องกล้อง ดีกว่ายังไง ทำได้ทุกหัตถการมั้ย

การผ่าตัดส่องกล้องเป็นหนึ่งในเทคโนโลยีทางการแพทย์ที่กำลังได้รับความสนใจในปัจจุบัน เนื่องจากมีข...
ดูรายละเอียด

 รู้จัก RSV ภัยเงียบที่มาคู่กับหน้าฝน ของผู้ใหญ่
รู้จัก RSV ภัยเงียบที่มาคู่กับหน้าฝน ของผู้ใหญ่
 รู้จัก RSV ภัยเงียบที่มาคู่กับหน้าฝน ของผู้ใหญ่

ในยุคที่โรคระบาดเกิดขึ้นบ่อยครั้ง การตระหนักถึงสุขภาพเป็นสิ่งสำคัญมาก โดยเฉพาะโรคร้ายแรงบางโรคมั...
ดูรายละเอียด

ทำความสะอาด สะดือลูกน้อยตามนี้ ถูกวิธี สะอาด ปลอดภัย
ทำความสะอาด สะดือลูกน้อยตามนี้ ถูกวิธี สะอาด ปลอดภัย
ทำความสะอาด สะดือลูกน้อยตามนี้ ถูกวิธี สะอาด ปลอดภัย

 

การทำความสะอาดสะดือทารก

สายสะดือเป็นทางติดต่อระหว่างคุณแม่และลูกน้อยขณะอยู่ในครรภ์ เป...
ดูรายละเอียด

คลึงมดลูกให้ถูกวิธี ลดความเสี่ยงตกเลือดหลังคลอด พร้อมวิดีโอสอน
คลึงมดลูกให้ถูกวิธี ลดความเสี่ยงตกเลือดหลังคลอด พร้อมวิดีโอสอน

การนวดคลึงมดลูกมีส่วนสำคัญในการช่วยป้องกันการตกเลือดหลังคลอดได้ โดยคุณแม่หลังคลอดไม่ว่าจะเป็นคลอดธรรมชาติ หรือผ่าตัดคลอดควรทำการนวดคลึงมดลูกในช่วง...
ดูรายละเอียด

ไขมันมันในเลือดสูงทำคุณเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด
ไขมันมันในเลือดสูงทำคุณเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด

 

เลือกอ่าน หัวข้อที่สนใจ • บทนำภาวะไขมันในเลือดสูงและความเสี่ยงของโรค...

ดูรายละเอียด
ความดันโลหิตสูง เสี่ยงโรคอะไรบ้าง
ความดันโลหิตสูง เสี่ยงโรคอะไรบ้าง
ความดันโลหิตสูง เสี่ยงโรคอะไรบ้าง

รู้จักโรคความดันโลหิตสูง

โรคความดันโลหิตสูง (Hypertension) เป็นภาวะที่ความดันโลหิตในหลอดเลือดสูงเกินระดับป...
ดูรายละเอียด

เสริมภูมิคุ้มกันเพื่อผู้ใหญ่และผู้สูงวัย ด้วยวัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่ และปอดอักเสบ (IPD)
เสริมภูมิคุ้มกันเพื่อผู้ใหญ่และผู้สูงวัย ด้วยวัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่ และปอดอักเสบ (IPD)
สูงวัยอุ่นใจ วัคซีนไข้หวัดใหญ่และวัคซีนป้องกันปอดอักเสบช่วยได้

การฉีดวัคซีนเพื่อเสริมภูมิคุ้มกันเราอาจจะมองว่าเป็นเรื่องสำหรับเด็ก แต่จริงๆ แล้...
ดูรายละเอียด

วัคซีนป้องกันมะเร็งปากมดลูก ทำไมต้องฉีดก่อนมีเพศสัมพันธ์
วัคซีนป้องกันมะเร็งปากมดลูก ทำไมต้องฉีดก่อนมีเพศสัมพันธ์
รู้จักวัคซีนป้องกันมะเร็งปากมดลูก

ก่อนหน้านี้คุณผู้อ่านเคยได้ยินเรื่องของวัคซีนป้องกันมะเร็งปากมดลูกไหมมาก่อนบ้างมั้ย ? มันคือวัคซีนที่ช่วยป้องกันการติดเช...
ดูรายละเอียด

นมแม่ แน่แค่ไหน ควรให้นานเท่าไหร่ดี
นมแม่ แน่แค่ไหน ควรให้นานเท่าไหร่ดี
นมแม่ดีอย่างไร ควรให้นานแค่ให้ อยากเป็นคุณแม่สายให้นมต้องรู้

องค์การอนามัยโลกบอกไว้ว่าการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่มีประโยชน์มากสำหรับทารกแรกเกิดจนถึง 2 ข...
ดูรายละเอียด

ถ้าคุณแม่ ไม่ฝากครรภ์ มีผลเสียต่อลูกจริงมั้ย
ถ้าคุณแม่ ไม่ฝากครรภ์ มีผลเสียต่อลูกจริงมั้ย

การฝากครรภ์ (Antenatal Care) คือ การดูแลสุขภาพครรภ์ตั้งแต่เริ่มตั้งครรภ์ไปจนถึงก่อนคลอด ทั้งของคุณแม่และทารกในครรภ์ ซึ่งจะเป็นการดูแลแบบครอบค...
ดูรายละเอียด

ทำไมผู้สูงวัย จึงควรได้รับวัคซีนไข้หวัดใหญ่แบบ High Dose
ทำไมผู้สูงวัย จึงควรได้รับวัคซีนไข้หวัดใหญ่แบบ High Dose

วัคซีนไข้หวัดใหญ่ สำหรับผู้สูงอายุ

เพราะผู้สูงวัยนับเป็นกลุ่มเสี่ยงที่จะได้รับอันตรายจากโรคไข้หวัดใหญ่สูงกว่าคนวัยหนุ่มสาว โดยจากสถิติพบว่า ผู้สู...
ดูรายละเอียด

อัลตร้าซาวด์ช่องท้องบอกอะไรเราได้บ้าง
อัลตร้าซาวด์ช่องท้องบอกอะไรเราได้บ้าง
อัลตร้าซาวด์ช่องท้อง 1 ที ตรวจดูอวัยวะในร่างกายได้เป็น 10 แล้วอัลตร้าซาวด์ช่องท้องนี้บอกโรคอะไรเราได้บ้าง

อัลตร้าซา...
ดูรายละเอียด

อาการเสี่ยงภาวะถุงน้ำรังไข่หลายใบ
อาการเสี่ยงภาวะถุงน้ำรังไข่หลายใบ

ภาวะถุงน้ำในรังไข่หลายใบคืออะไร?

ภาวะถุงน้ำในรังไข่หลายใบ หรือ PCOS (Polycystic ovary syndrome) เป็นความผิดปกติของต่อมไร้ท่อ หรือ ระบบฮอร์โมน มีล...
ดูรายละเอียด

NIPT คืออะไร? แล้วเลือดหยดเดียวบอกโรคอะไรเราได้บ้าง
NIPT คืออะไร? แล้วเลือดหยดเดียวบอกโรคอะไรเราได้บ้าง

การตรวจ NIPT หรือ Non-Invasive Prenatal Testing (NIPT) คือการตรวจคัดกรองความผิดปกติของโครโมโซมทารกในครรภ์จากเลือดมารดา "อุ่นใจ ให้แพทย์เฉพาะทางดูแ...

ดูรายละเอียด
นอนกรนอันตรายกว่าที่คิด
นอนกรนอันตรายกว่าที่คิด
ปัญหานอนกรน อาจมีอะไรซ่อนอยู่ ตรวจดูให้รู้ด้วย Sleep Test   นอนกรนเกิดจากอะไร?

การนอนกรน เกิดจากทางเดินหายใจส่วนบนถูกอุดกั้น โดยในขณะที่เราน...
ดูรายละเอียด

สัญญาณไม่มีเสียงเตือน ของโรคที่พบบ่อยในผู้สูงวัย
สัญญาณไม่มีเสียงเตือน ของโรคที่พบบ่อยในผู้สูงวัย
สัญญาณเตือนที่ผู้สูงอายุควรตรวจสุขภาพ

ระบบต่างๆ ในร่างกายผู้สูงอายุมีการเปลี่ยนแปลงตามอายุที่เพิ่มขึ้น ทำให้อาการแสดงของโรคหรือปัญหาสุขภาพหลายๆ อย่างไม่...
ดูรายละเอียด

มะเร็งชนิดไหนผู้ชายเสี่ยงเป็นมากกว่า
มะเร็งชนิดไหนผู้ชายเสี่ยงเป็นมากกว่า
โรคมะเร็งร้ายแรง ที่ผู้ชายเสี่ยงที่สุด 3 อันดับ        โรคมะเร็ง ถือเป็นโรคยอดฮิตมีอัตราการเสียชีวิตสูง และยังเป็นโรคที่ไม่ว่าใครก็...
ดูรายละเอียด
เปิดสถิติโรคมะเร็งในผู้หญิงและผู้ชายไทย ใครเสี่ยงมากกว่า มะเร็งอะไรพบมากที่สุด
เปิดสถิติโรคมะเร็งในผู้หญิงและผู้ชายไทย ใครเสี่ยงมากกว่า มะเร็งอะไรพบมากที่สุด

โรคมะเร็ง เป็นอีกหนึ่งโรคร้ายที่คร่าชีวิตคนไทยมาแล้วหลายชีวิต และยังมีอัตราการเกิดโรคที่สูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง เรามาสรุปข้อมูลสถิติ จาก สถาบันมะเร็งแห่งช...
ดูรายละเอียด

วัคซีนไข้หวัดใหญ่ ฉีดไว้กันอะไรได้บ้าง
วัคซีนไข้หวัดใหญ่ ฉีดไว้กันอะไรได้บ้าง
วัคซีนไข้หวัดใหญ่สำคัญยังไง แล้วทำไมเราถึงควรฉีด

โรคไข้หวัดใหญ่เกิดจากเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ (Influenza Virus) ซึ่งมีอยู่ 3 สายพันธุ์ คือ A , B และ...

ดูรายละเอียด
เทียบให้ดูกันชัดๆ คลอดธรรมชาติกับผ่าคลอดเลือกแบบไหนดี
เทียบให้ดูกันชัดๆ คลอดธรรมชาติกับผ่าคลอดเลือกแบบไหนดี
คลอดธรรมชาติ กับ ผ่าคลอดแบบไหนดีกว่ากัน และมีข้อดี ข้อเสียอะไรบ้าง?

การคลอดธรรมชาติ คือ การคลอดทารกผ่านทางช่องคลอด ซึ่งเป็นวิธีที่องค...
ดูรายละเอียด

เลือกแพ็กเกจตรวจสุขภาพยังไง ให้ใช่สำหรับคุณ
เลือกแพ็กเกจตรวจสุขภาพยังไง ให้ใช่สำหรับคุณ
เทคนิคการเลือกแพ็กเกจตรวจสุขภาพ...ที่ใช่สำหรับคุณ

ปัญหาเรื่องสุขภาพอาจเกิดขึ้นได้ตลอดเวลา การตรวจสุขภาพอย่างสม่ำเสมอจะเป็นการช่วยหาสาเหตุของโรคหรือควา...
ดูรายละเอียด

หน้าฝนต้องระวัง โรคไข้ดิน
หน้าฝนต้องระวัง โรคไข้ดิน

 

โรคไข้ดิน หรือโรคเมลิออยด์ (Melioidosis) พบมากในฤดูฝนเป็นโรคติดเชื้อแบคทีเรียที่อยู่ในดินและน้ำสามารถพบได้ทั่วประเทศไทย ความรุ...
ดูรายละเอียด

อาการปวดแบบไหน ที่ฝังเข็มช่วยได้
อาการปวดแบบไหน ที่ฝังเข็มช่วยได้

อาการปวดแบบไหน ที่รักษาได้ด้วยการฝังเข็ม

ปัจจุบันองค์การอนามัยโลก (WHO) ได้รับรองให้การฝังเข็มเป็นศาสตร์การรักษาโรคแขนงหนึ่งและยังมีหลายงานวิจัยพ...
ดูรายละเอียด

วิธีเช็กเต้านมเบื้องต้นง่ายๆ ด้วยตนเอง
วิธีเช็กเต้านมเบื้องต้นง่ายๆ ด้วยตนเอง

มะเร็งเต้านมเป็นมะเร็งที่พบมากเป็นอันดับหนึ่งของมะเร็งในสตรี ปัจจัยที่ทำให้การรักษาได้ผลดีนั้นขึ้นอยู่กับระยะของโรคที่เป็น ถ้าเรายิ่งค้นพบให้ได้ตั้งแต่ระยะต้...
ดูรายละเอียด

ทำไมต้องตรวจสุขภาพประจำปี
ทำไมต้องตรวจสุขภาพประจำปี

ตรวจสุขภาพ สำคัญกว่าที่คิด

ด้วยมลพิษมากมายในปัจจุบัน ส่งผลให้สุขภาพของคนเราย่ำแย่ตามไปด้วย หลายคนมองข้ามความสำคัญของการตรวจสุขภาพ เพราะเห็นว่าร่า...
ดูรายละเอียด

โรคไหนบ้างที่พบได้จากการตรวจ Ultrasound
โรคไหนบ้างที่พบได้จากการตรวจ Ultrasound

ตรวจอัลตร้าชาวด์เช็คความผิดปกติ

การอัลตร้าซาวด์ (Ultrasound หรือ Ultrasound scanning) คือการตรวจวินิจฉัยโรคโดยการใช้คลื่นเสียงกำลังสูงสะท้อนให้เก...
ดูรายละเอียด

อายุเท่าไหร่ ถึงสามารถ ฉีดวัคซีนมะเร็งปากมดลูกได้
อายุเท่าไหร่ ถึงสามารถ ฉีดวัคซีนมะเร็งปากมดลูกได้

การฉีดวัคซีน hpv ให้ได้ผลดี คือการฉีดตั้งแต่ยังไม่เคยมีเพศสัมพันธ์ และอยู่ในช่วงวัยที่ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันต่อไวรัสนี้ได้ดี เชื้อไวรัส HPV นับว่าเป็นเ...
ดูรายละเอียด

ไทยเจอแล้ว! โควิดสายพันธุ์ย่อย “BA.2.75”
ไทยเจอแล้ว! โควิดสายพันธุ์ย่อย “BA.2.75”
ไทยพบผู้ติดเชื้อโควิด-19 โอมิครอนสายพันธุ์ย่อย BA.2.75 คนแรกที่ จ.ตรัง แพทย์ระบุเชื้อรุนแรงกว่าสายพันธุ์ BA.5

ศูนย์จีโนมทางการแพทย์ โรงพยาบาลรามาธิ...
ดูรายละเอียด

ปวดท้องแบบไหน เสี่ยงนิ่วในถุงน้ำดี
ปวดท้องแบบไหน เสี่ยงนิ่วในถุงน้ำดี
ปวดท้องแบบไหนเสี่ยงนิ่วในถุงน้ำดี

อาการที่สามารถสังเกตได้นั้นไม่ได้มีเพียงการปวดท้องเพียงอย่างเดียว โดยอาการจะมีผลกับระบบทางเดินอาหาร เนื่องจากเกิดการอุดตัน...
ดูรายละเอียด

โควิดไม่ลงปอด แต่ทำไมหายแล้วยังรู้สึกเหนื่อย
โควิดไม่ลงปอด แต่ทำไมหายแล้วยังรู้สึกเหนื่อย
รู้จักภาวะ ‘ลองโควิด’ (LONG COVID)

‘ลองโควิด’ (LONG COVID) หรือเรียกได้อีกอย่างว่า POST-COVID SYNDROME อาจมีอาการคล้ายๆ เดิมที่เคยเป...
ดูรายละเอียด

หมอ MFM สำคัญยังไง แม่ท้องต้องรู้ก่อนฝากครรภ์
หมอ MFM สำคัญยังไง แม่ท้องต้องรู้ก่อนฝากครรภ์
หมอ MFM สำคัญยังไง แม่ท้องต้องรู้ก่อนฝากครรภ์ รู้จักกับ MFM

Maternal Fetal Medicine (MFM) คือ แพทย์ที่มีความชำนาญเฉพาะทางด้านเวชศาสตร์มารดาและทารกในคร...
ดูรายละเอียด

ตื่นมาปัสสาวะบ่อยกลางคืน ร่างกายกำลังบอกอะไร?
ตื่นมาปัสสาวะบ่อยกลางคืน ร่างกายกำลังบอกอะไร?
กลางคืนตื่นมาปัสสาวะบ่อย ร่างกายกำลังบอกอะไร?

มะเร็งต่อมลูกหมาก ถูกจัดให้เป็นมะเร็งที่พบบ่อยเป็นอันดับต้นๆ ในผู้ชายไทย และยังคงมีแนวโน้มเพิ...
ดูรายละเอียด

ตกขาวประจำเดือน...แบบไหนที่เสี่ยง“มะเร็งปากมดลูก”
ตกขาวประจำเดือน...แบบไหนที่เสี่ยง“มะเร็งปากมดลูก”
ตกขาวประจำเดือน...แบบไหนที่เสี่ยง“มะเร็งปากมดลูก”

การมีตกขาวมากผิดปกติ ทั้งที่เป็นน้ำและข้น เป็นมูก ตกขาวมีเลือดหรือหนองปน อาจจะมีกลิ่นหรือไม่มี...
ดูรายละเอียด

Long Covid คืออะไร ทำไมถึงทำให้ร่างกายแย่ลง
Long Covid คืออะไร ทำไมถึงทำให้ร่างกายแย่ลง
Long Covid คืออะไร ทำไมถึงทำให้ร่างกายแย่ลง

โควิด-19 เป็นโรคติดเชื้อจากไวรัส SARS-CoV-2 ที่มีการระบาดกระจายเป็นวงกว้างตั้งแต่ปี&nb...
ดูรายละเอียด

ทำไมโควิด-19ในเด็ก ถึงต้องการการดูแลที่มากกว่า
ทำไมโควิด-19ในเด็ก ถึงต้องการการดูแลที่มากกว่า
ทำไมโควิด-19ในเด็ก ถึงต้องการการดูแลที่มากกว่า COVID-19 คืออะไร?

COVID-19 คือเชื้อไวรัสทางเดินหายใจ มักเกิดที่ระบบทางเดินหายใจส่วนล่าง ทำให้เกิดอาการหลอด...
ดูรายละเอียด

ไขคำตอบ! ทำไมไม่จ่าย ยาฟาวิพิราเวียร์ ให้กับผู้ป่วยโควิดทุกคน
ไขคำตอบ! ทำไมไม่จ่าย ยาฟาวิพิราเวียร์ ให้กับผู้ป่วยโควิดทุกคน
ไขคำตอบ! ไม่จ่าย "ยาฟาวิพิราเวียร์" ให้กับผู้ป่วยโควิดทุกคน

กรมการแพทย์ ไขคำตอบเหตุผลไม่จ่ายยาฟาวิพิราเวียร์ ให้ก...
ดูรายละเอียด

อาการโควิดแบบไหน ให้เราดูแล
อาการโควิดแบบไหน ให้เราดูแล
อาการแบบไหน..ให้เราดูแล

2 กลุ่มอาการกับการให้การรักษา Covid-19 กับ โรงพยาบาลวัฒนแพทย์ ตรัง ด้วยสิทธิ์ สปสช.จากทางภาครัฐ มีดังนี้

 1.กลุ่มผู้ป่...

ดูรายละเอียด
การตรวจอัลตร้าซาวด์ MFM
การตรวจอัลตร้าซาวด์ MFM

การตรวจอัลตร้าซาวด์ MFM คืออะไร

เป็นการตรวจอัลตร้าซาวด์โดยสูติแพทย์เฉพาะทางด้านเวชศาสตร์มารดาและทารกในครรภ์ (MFM : Maternal Fetal Medicine) จะเน้นก...
ดูรายละเอียด

8 สัญญาณเตือนว่าเราอาจจะเป็นมะเร็งปากมดลูก
8 สัญญาณเตือนว่าเราอาจจะเป็นมะเร็งปากมดลูก
8 สัญญาณเตือนว่าเราอาจจะเป็นมะเร็งปากมดลูก

มะเร็งปากมดลูก คืออะไร

เกิดจากเชื้อไวรัส HPV ซึ่งโดยปกติแล้วมักมาจากการม...
ดูรายละเอียด

การตรวจหานิ่วในถุงน้ำดี
การตรวจหานิ่วในถุงน้ำดี
นิ่วในถุงน้ำดี (Gallstone)  

เป็นโรคในระบบทางเดินน้ำดีที่พบได้บ่อย โดยนิ่วเกิดจากการตกตะกอนของหินปูนหรือคอเลสเตอรอลในน้ำดี อุบัติการ...
ดูรายละเอียด

นมคัดเต้าในคุณแม่หลังคลอด
นมคัดเต้าในคุณแม่หลังคลอด
อาการเต้านมคัดเป็นเรื่องปกติ ซึ่งเป็นผลจากการที่ร่างกายสร้างน้ำนมมากขึ้น หนักขึ้น และบวม อาการคือเต้านมจะแข็งขึ้นและมีอาการปวด บวม ร้อน เต้านมมีสีแดงขึ้น บาง...
ดูรายละเอียด
การส่องกล้องกระเพาะอาหาร
การส่องกล้องกระเพาะอาหาร

 

...

ดูรายละเอียด